Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลมารดาในระยะที่ 2 ของการคลอด - Coggle Diagram
การดูแลมารดาในระยะที่ 2 ของการคลอด
เอกสารอ้างอิง
ปิยะนุช ชูโต . (2562). การพยาบาลและการพดุงครรภ์:สตรีในระยะคลอดและหลังคลอด(พิมพ์ครั้งที่ 1). เชียงใหม่: คณะพยาบาลศาตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศีตรา มยูขโชติ,พิเชษฐ แซ่โซว. การคลอด และองค์ประกอบของการคลอด.สืบค้น 6 พฤษภาคม 2563, จาก
https://administer.pi.ac.th
การเจาะถุงน้ำ (Puncture of membrances) ถ้าถุงน้ำยังไม่แตกควรจะเจาะ เพราะอาจทำให้การเคลื่อนตํ่าของทารกล่าช้า ทำโดยถือหลัก aseptic technique
การบรรเทาความเจ็บปวด
ระยะแรกของการเบ่ง จัดให้นอนตะเเคง นวดบริเวณก้นกบ เป็นวงกลม ถูไปมา
การงดน้ำงดอาหาร เเต่ถ้ามีอาการขาดน้ำเเพทย์อาจให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การดูแลสุขภาพกายและสิ่งเเวดล้อม จัดสิ่งเเวดล้อมให้อากาศถ่ายเท เช็คหน้าให้ผู้คลอดกรณีมีเหงื่อออกมาก
การเบ่งอย่างมีประสิทธิภาพ
ท่าในการเบ่ง ควรจะเป็นท่าศีรษะสูงเพื่อช่วยเสริมแรงโน้มถ่วงของโลก ทำให้ศีรษะเคลื่อนลงมาต่ำเรื่อยๆ
เวลาในการเบ่ง เบ่งได้ก็ต่อเมื่อตรวจทางช่องคลอดแล้วพบว่าปากมดลูกเปิดหมด
ให้ผู้คลอดเบ่งเองตามธรรมชาติ
ให้ผู้คลอดพัก ถ้าศีรษะทารกยังไม่เคลื่อนต่ำลงมา
รอให้ผู้คลอดมีความรู้สึกอยากเบ่งเอง พยาบาลจะไม่ชี้นำหรือกระตุ้น
ปล่อยให้ผู้คลอดแสดงความรู้สึกเจ็บปวดออกมา
ข้อควรระหว่างของการเบ่ง
ไม่ควรเบ่งในท่านอนหงายราบ เพราะทำให้ทารกเคลื่อนต่ำลงช้า
การเบ่งแต่ละครั้งไม่ควรนานเกิน 8 วินาที เพราะอาจจะทำให้เกิดภาวะ Vallsalva maneuver
การเบ่งแล้วกลั่นหายใจนานๆ ทำให้เกิดอันตรายต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
บอกความก้าวหน้าของการคลอดเป็นระยๆ