Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลมารดาในระยะที่ 2 ของการคลอด - Coggle Diagram
การดูแลมารดาในระยะที่ 2 ของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก โดยประเมินทุก 15 นาทีหรือทุกครั้งที่มีการหดรัดตัวของมดลูกและคลายตัว
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
ตำแหน่งที่ฟังเสียงหัวใจทารกจะเคลื่อนต่ำลงมาเรื่อยๆ
โดยการตรวจภายในเพื่อประเมินระดับส่วนนำของทารก
การสังเกตบริเวณฝีเย็บ และการเคลื่อนต่ำของตำแหน่งเสียงหัวใจทารกในครรภ์ที่ฟังได้ชัดเจนที่สุด
ตำแหน่งที่ฟังเสียงหัวใจทารกควรอยู่เหนือรอยต่อของกระดูกหัวหน่าวพอดี
แรงเบ่ง (bearing down effort)
โดยการประเมินลักษณะการเบ่งของผู้คลอดว่าถูกต้องหรือไม่
เบ่งแล้วการคลอดก้าวหน้าหรือไม่
ถ้าผู้คลอดเบ่งแล้วการคลอดไม่ก้าวหน้า อาจเป็นเพราะทารกในครรภ์อยู่ในท่าที่ผิดปกติหรือเชิงกรานไม่กว้างพอ
กระเพาะปัสสาวะ
โดยประเมินว่ากระเพาะปัสสาวะเต็มหรือไม่
กระเพาะปัสสาวะเต็มเป็นสาเหตุทีทำให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดีและขัดขวางการเคลื่อนต่ำของส่วนนำทารก
ระยะเวลาของการ
คลอดยาวนานผิดปกติ
มดลูกจะไปกดกระเพาะปัสสาวะนานเกินไปทำให้เกิด necrosis
สภาวะของทารกในครรภ์
ฟังเสียงของหัวใจทารกในครรภ์ทุก 15-30 นาที
ถ้าพบว่าอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์น้อยกว่า 100 ครั้งต่อนาทีหรือมากกว่า 160 ครั้งต่อนาทีหรือจังหวะการเต้นไม่สม่ำเสมอ
แสดงว่าทารกในครรภ์ในภาวะขาดออกซิเจนเกิดขึ้นแล้ว
สัญญาณชีพ
การจับชีพจร นับการหายใจ
วัดความดันโลหิต ทุก 30 นาทีถึง 1 ชม.
หากมีภาวะเสี่ยงให้ตรวจวัดทุก 30 นาที
อัตราการเต้นของชีพจรมากกว่า 90 ครั้งต่อนาทีความดันโลหิตต่ำกว่า 90/60 mmHg หรือสูงกว่า 130/90 mmHg และหายใจเร็วกว่า 24 ครั้งต่อนาทีอาจแสดงว่ามีการตกเลือดในระยะคลอดและเกิดภาวะช็อค
สภาวะร่างกายของผู้คลอด
ภาวะอ่อนเพลีย
หมดแรง
ขาดน้ำ ขาดอาหาร
ประเมินระดับความเจ็บปวด
พฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดของผู้คลอด
สภาวะจิตใจของผู้คลอด
ประเมินความรู้สึกวิตกกังวล
ความหวาดกลัวของผู้คลอดต่อ
การคลอด
ทำให้มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติเกิดการคลอดล่าช้าได้