Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๓ หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ นายวีรพล คุณธรรม 603101089 - Coggle…
บทที่ ๓ หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ
นายวีรพล คุณธรรม 603101089
หลักการบริหาร
การบริหารงานบุคคล2. การบริหารพัสดุ3. การบริหารงานงบประมาณ4. การบริหารระบบ
การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management)การจัดการกับเหตุการณ์ทั้งภายในและภายนอกองค์การ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างเหมาะสม องค์การได้รับผลดี
การขั้นตอนการบริหารการเปลี่ยนแปลง๑. การวางแผนการเปลี่ยนแปลง (Planning for Change)๒. การนาแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ (Implementing Change)๓. การติดตามประเมินผล และรักษาผลการเปลี่ยนแปลง (Evaluating and Maintaining Change)
รูปแบบของการเปลี่ยนแปลง๑. การเปลี่ยนแปลงเชิงรุก (Proactive) เป็นการเปลี่ยนแปลงตนเองก่อนที่จะได้รับการเปลี่ยนแปลง๒. การเปลี่ยนแปลงเชิงรับ (Reactive) เป็นการถูกเปลี่ยนแปลงโดยผู้อื่นตัวเองไม่ยอมที่จะเปลี่ยนแปลง
ความสำคัญของการบริหารการเปลี่ยนแปลง๑. องค์การที่มีการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดี จะปรับตัวได้ทันกับปัญหา และการท้าทายจากสภาพแวดล้อมได้๒. การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดี ช่วยให้องค์การเห็นโอกาส และภัยคุกคามต่างๆ ที่เกิดขึ้น
๓. การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดีจะช่วยให้การดาเนินงานขององค์การเป็นไปโดยราบรื่น๔. การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดี จะช่วยให้องค์การไม่สับสน วุ่นวาย ระส่าระสาย๕. การบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดี จะช่วยให้องค์การได้ปรับปรุงตัวเองอย่างต่อเนื่อง
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
แรงต่อต้าน
ความกลัวว่าจะต้องสูญเสียประโยชน์ อานาจ ความมั่นคง,ความรู้สึกหวั่นไหวต่อความคลุมเครือ ความไม่แน่นอน,การขาดความรู้ความเข้าใจที่ดีพอเกี่ยวกับแนวทาง วิธีการ
แรงเสริม
ความสามารถในการรับรู้ข่าวสารร่วมกันในหมู่คนในองค์การ,ความไม่พึงพอใจในสภาพปัจจุบันที่เป็นอยู่,ภาพลักษณ์ และการปฏิบัติตนของผู้นาที่แสดงถึงความมุ่งมั่น,ความจาเป็นขององค์การที่ต้องใช้เทคโนโลยีในการดาเนินการ
การบริหารงบประมาณ (Budget)การวางแผนความต้องการด้านการเงินไว้ล่วงหน้าว่าจะทำกิจกรรมใด เมื่อใด และใช้โดยใคร มีระยะเวลาเงื่อนไขกำหนด
มาตรฐานการจัดการทางการเงินการรายงานผลการดาเนินงาน เป็นภารกิจและความตระหนักที่หน่วยงาน ได้จัดทาข้อตกลง การปฏิบัติงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดระบบงาน,กำหนดการติดต่อสื่อสาร,จัดทำคู่มือปฏิบัติงาน,การวางแผนการปฏิบัติงาน,นโยบายด้านบุคลากร,จัดหาเครื่องมือเครื่องใช้,การบันทึกการรายงาน,การเสริมความรู้ด้านวิชาการ,มีการติดต่อประสานงานกับทีมสุขภาพทุกสาขาที่เกี่ยวข้อง,มีการประเมินผล
ความสาคัญและประโยชน์ของงบประมาณ๑) ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารหน่วยงาน๒) ให้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาหน่วยงาน
๓) เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จากัดให้มีประสิทธิภาพ
๔) เป็นเครื่องมือกระจายทรัพยากร และเงินงบประมาณที่เป็นธรรม๕) เป็นเครื่องมือประชาสัมพันธ์ งานและผลงานของหน่วยงาน
การบริหารพัสดุ
หลักการบารุงรักษาพัสดุ, จัดทำสมุดทะเบียน,รายงานการส่งซ่อมอุปกรณ์,จัดทำคู่มือบารุงรักษา,การควบคุมดูแลการเบิกจ่าย
ขั้นตอนการบริหารพัสดุ๑. วางแผน / กำหนดโครงการ๒. กำหนดความต้องการ๓. จัดหา จัดซื้อ จัดจ้าง๔. การแจกจ่าย๕. การบำรุงรักษา (๑) แบบป้องกัน (๒) แบบแก้ไข๖. การจำหน่าย
ประเภทของพัสดุ๑. พัสดุประเภทสานักงาน๒. พัสดุทางการแพทย์๓. พัสดุวิทยาศาสตร์๔. พัสดุยานพาหนะ๕. พัสดุงานบ้าน
1.การบริหารงานบุคคล(Personnel Management)เป็นกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งกาลังคนที่เหมาะสมที่สุดกับงาน และใช้ทรัพยากรกาลังคนนั้นให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
ความสาคัญของการบริหารงานบุคคล๑. เพื่อสรรหาและเลือกสรร (recruitment and selection) ให้ได้บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และความประพฤติดีเข้ามาทางาน๒. เพื่อใช้ประโยชน์ (utilization) ของบุคคลอย่างเต็มกำลังในการทางาน๓. เพื่อรักษาไว้ (maintenance) ซึ่งบุคคลให้ทางานกับองค์การนานๆ๔. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี (relationships) ของบุคคลกลุ่มต่างๆขององค์การ๕. เพื่อพัฒนาทักษะและเสริมสร้างความสามารถของบุคลากรให้มีสมรรถภาพเพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง (development)
หลักการบริหารงานบุคคล
๑. ระบบคุณธรรม (Merit System)ต้องการขจัดระบบอุปถัมภ์ (Patronage) ออกไป กับการรับผู้ที่มีความสามารถมาปฏิบัติงาน๑. หลักเสมอภาค๒. หลักความสามารถ๓. หลักความมั่นคง๔. หลักความเป็นกลางทางการเมือง
๒. ระบบอุปถัมภ์ (Patronage System)เป็นระบบการบริหารงานบุคคลที่ตรงข้ามกับระบบคุณธรรม ส่วนใหญ่จะยึดถือหลักพวกพ้อง เครือญาติ หรือมีผู้อุปการ
ขั้นตอนการบริหารงานบุคคล
๑. การสรรหาและการคัดเลือกการแสวงหาบุคลากรที่มีความรู้ มีความสามารถ
๒. การพัฒนาบุคลากร๑. การฝึกอบรมทางด้านความรู้ (Knowledge Skill)๒. การฝึกอบรมทางด้านเทคนิค (Technical Skill)๓. การฝึกอบรมทางด้านมนุษยสัมพันธ์ (Human Skill๔. การฝึกอบรมทางด้านความคิด (Conceptual Skill)
๓. การบำรุงรักษาบุคลากรเป็นกระบวนการที่สาคัญในการจูงใจให้บุคลากรคงอยู่ในหน่วยงานหรือองค์การได้นานที่สุด ซึ่งองค์การใดสามารถบำรุงรักษาบุคลากรพยาบาลที่มีความรู้ ความสามารถให้คงอยู่ในองค์การได้
๔. การประเมินผลการปฏิบัติงานสิ่งจำเป็นสำหรับผู้บริหารในการตัดสินใจมอบหมายงาน เลื่อนขั้น การบรรจุแต่งตั้ง พัฒนาบุคลากร หรือโยกย้ายสับเปลี่ยนบุคลากรนั้นให้เหมาะสมกับงาน