Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่1ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลในระยะที่1ของการคลอด
การรับใหม่ผู้คลอด
การให้การต้อนรับ
ด้วยไมตรีจิต สุภาพ
อ่อนโยน มารยาทเรียบร้อยมีความว่องไว กระฉับกระเฉง มั่นใจในตัวเอง เพื่อให้ผู้คลอดได้รับความอบอุ่น มีความมั่นใจในตัวเรา และมองเห็นว่าเราช่วยเหลือเขาได้จริงจัง และจริงใจ คำพูดถูกต้องหนักแน่น มีเหตุผลต่อผู้คลอด
การซักประวัติ
ประวัติจากอาการนำที่ผู้คลอดมาโรงพยาบาล
การเจ็บครรภ์ (Labor pain)
ซักถามจากลักษณะการเจ็บครรภ์ ความถี่ และความรุนแรงของการเจ็บครรภ์
มูก(show)
ลักษณะเวลาน้ำเดิน
.มีน้ำเดินหรือถุงน้ำแดก (Rupture of membranes)
เกิดขึ้นเมื่อไร ลักษณะเป็นอย่างไร จำนวนเท่าไร
ประวัติทางสูติกรรม
ประวัติการแท้งการขูดมดลูก
ประวัติภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
ประวัติการคลอด
ประวัติทารก
ประวัติความผิดปกติหรือภาวะแทรกซ้อนต่างๆในยระยะคลอดและหลังคลอด
อายุครรภ์
ลำดับการตั้งครรภ์
ประวัติทางอายุรกรรม
มีประวัติการเจ็บป่วยด้วยโรคใดบ้าง
เริ่มเป็นเมื่อไร ได้รับการรักษา
หรือไม่อย่างไร ประวัติการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
การรักษา
ประวัติการแพ้ยาสารในอาหารหรือการผ่าตัด
ประวัติการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว
โรคหรือความผิดปกติที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม เช่น
ครรภ์แฝด โรคเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
ประวัติด้านจิตสังคม
ความรู้และเจตคติต่อการคลอด
ความกลัวเละความวิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอดและทารกในครรภ์
ความคาดหวังต่อการกลอด ความคาดหวังต่อเพศของบุตร
ความคาดหวังต่อการบริการของบุคลากรพยาบาล
สัมพันธภาพในกรอบครัวเละการช่วยเหลือสนับสนุนทางสังคม
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายเฉพาะที่ คือการตรวจครรภ์ เพื่อประเมินลักษณะและสภาวะของทารก
การคลำ
เพื่อประเมินความสัมพันธ์ของระดับยอดมดลูกกับอายุน้าไปสู่การทราบส่วนน้าทารก ระดับของส่วนน้า ท่าและทรงของทารก
การฟัง
ฟังเสียงหัวใจทารก อัตราการเต้นของหัวใจปกติ ต้าแหน่งของเสียงหัวใจทารก เพื่อประเมินภาวะขาดออกซิเจนของทารถในครรภ์
การดู
การดูขนาดของท้อง ลักษณะมดลูก การเคลื่อนไหวของทารก ลักษณะทั่วไปของท้อง
การตรวจสัญญาณชีพ น้้าหนัก พฤติกรรมทางกายที่แสดงออกถึงความเจ็บปวดในระยะคลอด ผลการตรวจเลือดผลการตรวจเลือด ผลการตรวจปัสสาวะ ผลการตรวจพิเศษอื่นๆ เช่น ผลการตรวจความถี่(Ultrasonography) ผลการตรวจNST(Non stress test)
การตรวจภายใน
ตรวจสภาพปากมดลูกมีลักษณะนุ่ม แข็ง ยืดขยายได้ง่ายหรือยาก บวม การเปิดขยายของปากมดลูก ตำแหน่งของปากมดลูก การตรวจหาท่าทารก(position)
ความบางของปากมดลูก(Cervical effacement)
ถ้าความหนาเหลือเพียง 1
เซนติเมตร cervical effacement เท่ากับ 50%
ถ้าความหนาเหลือเพียง 0.5
เซนติเมตร cervical effacement เท่ากับ 75 %
ถ้าความหนาเหลือเพียง0.2-0.3 เซนติเมตร cervical effacement เท่ากับ 100 %
การตรวจหาส่วนนำ
ดูว่าส่วนไหนเป็นส่วนนำศรีษะกลม เรียบ แข็ง
High plane หมายถึง ส่วนนำอยู่เหนื่อระดับของ ischial spines
Mid plane หมายถึง ส่วนนำอยู่พอดีกับระดับของ ischial spines
Low plane หมายถึง ส่วนนำอยู่ต่ำกว่าระดับของ ischial spines
Station เป็นการแบ่งระดับของส่วนนำบอกได้ว่าส่วนนำที่อยู่ต่ำสุดของทารกถึงระดับใดเล้ว โดยใช้ ischial spinesเป็นหลัก ถ้าทารกทศีรษะส่วนนำที่ลงมาต่ำสุด ที่มาถึง ischialspines คือ กระดูกกะโหลกศีรษะ (บอกวรระวัง ไม่คารคิด station
การตรวจหาท่าทารก(position)
เป็นการคลำจากการตรวจดู sagittal suture ขม่อมหลัง (Posteriorfontanel) หรือขม่อมหน้า (Anterior fontanel) ตำแหน่งของมัน
การตรวจดูสภาพของน้ำทูนหัว (Bag of fore water )
1Membrane intact (M) ตรวจพบถุงน้ำโปงแข็งตึง คลำส่วนนำได้ยาก
2Membrane leakage (ML)ตรวจพบถุงน้ำไม่ค่อยแข็งตึง อาจคลำได้ส่วนนำ สังเกตเห็นน้ำคร่ำไหลออกม้าเรื่อย ๆ ขณะตรวจ หรือเมื่อมดลูกหดรัดตัว หรือประวัติมีน้ำคร่ำเดินออกมาก่อน
3 Membrane rupture (MR) คลำส่วนนำได้เช่นเดียวกัน แต่พบส่วนนำชัดเจนและตรวจพบปากมดลูกเปิดขยายหมดเป็นส่วนมาก อาจพบบางครั้งขณะที่ปาก
มดลูกขยายไม่เต็มที่ได้เช่นเดียวกัน
ข้อห้ามในการตรวจภายใน
ผู้คลอดที่มีประวัติเลือดออกระหว่างการตั้งครรภ์ หรือกำลังมีเลือดออกโดยไม่ทราบสาเหตุ หรือรกเกาะต่ำทุกราย
ส่วนนำทารกยังไม่เข้าสู่ช่องเชิงกราน (Head float) ร่วมกับอายุครรภ์ยังไม่ครบกำหนดคลอด (ยกเว้นในรายที่แพทย์ให้ตรวจ)
เมื่อมองเห็นศีรษะของทารกในครรภ์แล้ว
ในระยะที่มีการอักเสบมากบริเวณหวารหนัก
ควรตรวจเท่าที่จำเป็นในระยะที่มีการอักเสบมากบริเวณหวารหนั
กรณีที่ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด (Premature rupture of
membrane) ควรตรวจเท่าที่จำเป็นเท่านั้น เพื่อลดการติดเชื้อ
การเตรียมผู้คลอด
ด้านจิตใจ
การอธิบายให้ทราบกี่ยวกับภาวะสุขภาพบองมารดาละทารกในครรภ์ ผลการตรวาต่างๆ การดำเนินการคลอด และกระบวนการ
คลอด
อธิบายเกี่ยวกับการรับไว้เพื่อรอคลอด การแนะนำสถานที่และข้อปฏิบัติกี่ยวกับการรอคลอด การเยี่ยมเละการติดต่อกับสามีและ
ญาติ สิทธิของผู้คลอด
ปิดโอกาสให้ชักถามข้อสงสัย
การเตรียมผู้คลอดพร้อมให้กำลังใจ
ด้านร่างกาย
การทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
เเละฝึเย็บ
การสวนอุจจาระ
การทำความสะอาดร่างกาย
จัดให้พักผ่อนในห้องรอกลอดละคูเลอย่างใกล้ชิด
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
การเคลื่อนต่าของส่วนนาและการหมุนของศีรษะทารก
ทารกจะเคลื่อนต่้าลงและมีการหมุนของศีรษะภายในตามกลไกการคลอดปกติในระยะlatent phase ควรตรวจทุก4 ชั่วโมง และตรวจเมื่อผู้คลอดเจ็บครรภ์ถี่มากขึ้น
การด้าเนินการคลอดที่เป็นปกติกระดูกท้ายทอยจะค่อยๆหมุนขึ้นมาทางด้านหน้า (Anterior) ของเชิงกรานและรอยต่อแสกกลางจะค่อยหมุนมาอยู่ในแนวหน้า หลัง (Anterior-posterior) ซึ่งผู้คลอดรายนี้ทารกมีส่วนน้าลงในอุ้งเชิงกราน
ตำแหน่ง FHS
เมื่อการคลอดก้าวหน้าทารกจะเคลื่อนต่้าลงมาและมีการหมุนภายในไปพร้อมๆ กัน ซึ่งจะท้าให้ตำแหน่งที่ฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารกได้เลื่อนต่ำลงมาและเคลื่อนเข้าหาแนวกึ่งกลางลำตัว เมื่อส่วนน้าเคลื่อนต่้าลงมาถึงช่องออกเชิงกรานตำแหน่งที่ฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารกจะอยู่ที่บริเวณรอยต่อกระดูกหัวเหน่า (Symphysis pubis)
อัตราปกติอยู่ที่110-160ครั้งต่อนาที
การเปิดขยายและความบางของปากมดลูก
ปากมดลูกบางและการเปิดขยายจะมากขึ้นตามล้าดับ ปากมดลูกจะเปิดหมดคือ10เซนติเมตรและบางหมด100% การเปิดขยายของปากมดลูกเป็นตัวบ่งชี้ที่ชัดเจนว่าการคลอดมีการก้าวหน้าขึ้นซึ่งผู้คลอดรายนี้ยังไม่มีการเปิดของปากมดลูก ดังนั้นถ้าปากมดลูกไม่เปิดตามเกณฑ์ปกติควรรายงานแพทย์และให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
มูก ถุงน้าคร่ำ อาการผู้คลอด
การแตกของถุงน้าคร่า
ในรายที่ไม่ได้เจาะถุงน้้า ถุงน้้าจะแตกเองเมื่อปากมดลูกใกล้จะเปิดหมด ดังนั้นการมีถุงน้้าแตกจึงพอที่จะบอกได้ว่าการคลอดก้าวหน้าขึ้น
อาการแสดงของผู้คลอด
เมื่อปากมดลูกเปิดมากขึ้นผู้คลอดจะกระสับกระส่ายมากขึ้น ควบคุมตนเองไม่ได้ และเจ็บปวดมาก อาการเหล่านี้มักจะพบได้เมื่อการคลอดด้าเนินมาถึงระยะ Transitional phase(ปากมดลูกเปิด8 10ชม.)
มูก
คือการมีมูกออกมากขึ้นและลักษณะของมูกเปลี่ยนจากมูกเป็นมูกเลือดหรือเลือดมากขึ้นแสดงว่าปากมดลูกเปิดเพิ่มขึ้น โดยออกประมาณ 50 cc.
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การประเมินโดยใช้เครื่องอิเล็กโทรนิก
การใช้เครื่องelectronicfeto monitoring (EFM) ใช้ประเมินไดทั้งการหดรัดตัวของมดลูก (uterine activity) และประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
การประเมินโดยการวางฝ่ามือบนยอดมดลูก
ระยะเวลาการหดรัดตัวของมดลูก(duration) ระยะห่างของการหดรัดตัวแต่ละครั้งของมดลูก(interval) ความถี่ของการหดรัดตัวของมดลูก(frequeancy) ความแรงของการหดรัดตัว(intensity) ผู้คลอดรายนี้มีการหดรัดตัวของมดลูก Interval8นาที Duration20วินาที ซึ่งอยู่ในlatent phase
ประเมินภาวะเเทรกซ้อน
ถุงน้ำคร่ำเตกก่อนการเจ็บครรภ์
สายสะดือย้อย
ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น
เช่น ภาวะความดันโลหิตสูงในระหว่าง
ตั้งครรภ์ โรคเบาหวาน โรคหัวใจ
กวามผิดปกดิในการหดรัดตัวของมดลูก เช่น มคลูกหดรัดตัวถี่เกินไป (tetanic
uterine contraction)ส่งผลให้ทารกในครรภ์ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเละ
มดลูกตกได้
ลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก
Latent phaseไม่เกิน 3 cms.
Duration=15-20นาที
Interval=10 – 15 นาที
Cx. dilate =ไม่เกิน 3 cms
Intensity=mild ( + )
Acceleration phase (active ตอนต้น)
Duration=45 – 60 วินาที
Interval =3 – 5 นาที
Cx. dilate=3 - 9 cms.
Intensity=moderate ( + + )
active ตอนปลาย
Duration =60 – 90 วินาที
Interval=2 – 3 นาที
Cx. dilate =9 - 10 cms.
Intensity=moderate / strong ( + + + )
การพยาบาล
ทารก
ฟังFHSต้องอยู่ในช่วง110-160ครั้งต่อนาทีและต้องฟังในช่วงมดลูกคลายตัว
ทารกเครียด
นอนตะแคงซ้าย
ให้ O2 = 5 L/min
รายงานแพทย
ฟัง FHS บ่อยๆ หรือ On fetal heart rate monitoring
ให้ยาตามแผนการรักษา
ดูแลให้IV Fluid
ดูแลใกล้ขิด
เตรียมช่วยแพทย์ในการคลอดทั้ง N/D และ C/S
Promoting of comfort & relaxation
ส่งเสริมให้เกิดความสุขสบายและผ่อนคลาย
แม่.
สร้างสัมพันธ์ภาพกับผู้คลอดในระยะแรกรับพูดคุยอย่างเป็นกันเอง
ให้ความรู้เกี่ยวกับการคลอด ผลPV ความก้าวหน้าของการคลอด
จัดสิ่งแวดล้อมบริเวณผู้ป่วยนอนพักในห้องคลอดให้สะอาดและสวยงาม มีรูปภาพวิวทิวทัศน์ หรือรูปภาพเด็กน่ารักประดับบริเวณผนังห้อง เพื่อความสดชื่น และลดความเบื่อหน่ายที่ต้องถูกจ้ากัดกิจกรรมอยู่นาน
เบี่ยงเบนความสนใจลดอาการปวด เช่น
ระยะปากมดลูกเปิด 1-4 ซม. แนะนำให้เดิน พดูคุย อ่านหนังสือ
ระยะปากมดลูกเปิด4-8ซม.แนะนาให้จิตใจจดจ่อนับลมหายใจ
ระยะปากมดลูกเปิด8-10ซม.แนะนาใหเกายใจลึกๆ
ให้นวดถูกลูบ โดยประเมินความต้องการของผู้ป่วยก่อน
เป็นการกระตุ้นใยประสาทขนาดใหญ่ถูนวดกระเบนเหน็บลูบที่หน้าท้อง (Effleurage)
ประคบเย็นประคบร้อน
การกดจุดเป็นการปรับพลังงานให้กลับสู่สมดุล
การสะกดจิตต้องทำก่อนคลอดตอน5-6เดือนเพิ่อให้คล้อยตามและผ่อนคลาย
การหายใจ (breathing techniques) เป็นเทคนิคที่จะช่วยเพิ่มจ้านวนออกซิเจนส่งเสริมให้เกิดการผ่อนคลาย ท้าให้ความเจ็บปวด และความเครียดลดลงโดย เมื่อมดลูกเริ่มหดรัดตัว ให้เริ่มต้นด้วยการหายใจล้างปอด 1 ครั้งโดยการหายใจเข้าทางจมูกลึก ๆ ช้า ๆ แล้วค่อย ๆ ผ่อนลมหายใจออกช้า ๆ เปิดปากเล็กน้อย
อันตรายของหญิงคลอดระยะ1
ความก้าวหน้าช้า
-Latent phase : G1 > 20 ชม., Gหลัง > 14 ชม.
Active phase : G1 ~ 1.2 ซม./ชม., Gหลัง ~ 1.5 ซม./
ชม
ผู้คลอดอยู่ใรภาวะอันตราย
Hypertonicity : D > 75 sec. หน้าท้องเป็ นลอนสูง
Maternal exhaustion/distress
Emotional distress
ทารกเครียด
FHS < 120, >160ครั้งต่อนาที