Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการเจริญเติบโตเเละพัฒนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการเจริญเติบโตเเละพัฒนาการ
การกระตุ้นพัฒนาการเด็ก (Developmental stimulation)
การกระทำหรือการจัดกิจกรรมที่กระตุ้นความสามารถและทักษะในการทำหน้าที่ตามพัฒนาการของเด็กที่มีพัฒนาการช้า
การส่งสริมพัฒนาการเด็ก ((Developmental Promotion)
การกระทำหรือการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะและความสามารถในการทำหน้าที่ตามพัฒนาของเด็กที่มีพัฒนาการปกติ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
จำนวนครั้งที่ได้รับการกระตุ้น
ระยะเวลาในการกระตุ้น
ผู้ดูเเลเด็ก
สภาพเเวดล้อม
ตัวเด็ก
สุขภาพของเด็ก : ความเจ็บป่วย
ความสัมพันธ์ของบุคคลอื่น
ความพร้อม
ขั้นตอนของการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
วางแผนการจัดโปรแกรมการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
ให้การกระตุ้นพัฒนาการเด็กตามแผนที่วางไว้อย่างสม่ำเสมอเเละต่อเนื่อง
การวิเคราะห์ปัญหา
การประเมินผล
การประเมินความก้าวหน้า
การประเมินผลสำเร็จ
การประเมินพัฒนาการ
วิธีการส่งเสริมการกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
ด้านการช่วยเหลือตนเอง-สังคม
ด้านประสาทสัมผัส
ด้านความเข้าใจเเละการใช้ภาษา
ด้ารการเคลื่อนไหวเเขนขาเเละข้อต่อ
ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก
ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่
การกระตุ้นประสาทสัมผัส
การกระตุ้นประสาทการได้ยิน
การกระตุ้นประสาทการได้กลิ่น
การกระตุ้นประสาทการมองเห็นของทารก
การกระตุ้นประสาทการรับรส
การกระตุ้นประสาทสัมผัสทางกายของทารก
การกระตุ้นการเคลื่อนไหวเเขนขาเเละข้อต่อ
การปรับพฤติกรรม (Behavior modification)
เป็นเทคนิคที่อยู่ในเเนวคิดจากหลักการเรียนรู้ (Learning theory) นำไปสู่การเปลี่ยนเเปลงพฤติกรรมให้เกิดในทิศทางที่พึงประสงค์
เทคนิคในการปรับพฤติกรรมในเด็ก
เพิ่มพฤติกรรม (Increasing behavior)
เป็นการช่วยให้พฤติกรรมที่เด็กมีอยู่แล้วเเต่ยังมีน้อยมากให้ความถี่ของพฤติกรรมสูงขึ้น
สร้างพฤติกรรม (Teaching behavior)
เป็นการสอนให้เด็กทำพฤติกรรมที่ไม่เคยทำมาก่อน หรือทำได้เเต่ไม่สมบูรณ์
ลดพฤติกรรม (Reducing or Eliminating behavior)
เป็นการลดหรือขจัดพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น ลดพฤติกรรมก้าวร้าว รังแกผู้อื่น เทคนิคที่ใช้ เช่นการหยุดยั้ง
พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในเด็ก
บิดาไม่มีความคงเส้นคงวาในการอบรมสั่งสอน
ไม่เเน่นอนในการเอาใจใส่เเละการทำโทษ
มักจะสัมพันธ์กับสภาวะการณ์ที่มีความยุ่งยากในชีวิต
หลักการเสริมเเรง
ให้ปริมาณการเาริมเเรวที่พอเหมาะ เพื่อไม่ให้ตัวเสริมเเรงหมดสภาพ
เลือกตัวเสริมเเรงที่เหมาะสมกับความต้องการของเด็กเเละมีความหลากหลาย
ให้เสริมเเรง สม่ำเสมอ ทันทีเมื่อต้องการสร้างหรือเพิ่มพฤติกรรม
จัดสถารการณ์ที่เอื้ออำนวยที่ทำให้เด็กได้รับการเสริมเเรงสูง
กำหนดเงื่อนไขว่าจะให้เเรงเสริมชนิดใดกับพฤติกรรมอะไร
สิ่งสำคัญคือ บิดามารดา หรือผู้ดูเเล ไม่ควรคาดหวังเด็กมากเกินไป
หลักการลงโทษ
ควรใช้การลงโทษควบคู่กับการเสริมเเรงพฤติกรรมที่เหมาะสมจะช่วยให้การลงโทษมีประสิทธิภาพมากขึ้น
การลงโทษ ต้องให้ทันทีเเละทุกครั้งที่มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
ถ้าประเมินเเล้วว่าอาการไม่พึงประสงค์ ควรได้รับการลงโทษควรเลือกใช้เทคนิคที่มีความรุนเเรงน้อยที่สุด
ต้องบอกให้ทราบถึงเงื่อไข พฤติกรรม เเละวิธีการลงโทษที่ชัดเจน
ก่อนจะใช้วิธีลงโทษ ควรประเมินว่าอาการไม่พึงประสงค์มีผลต่อการกระทำชนิดใด เเละอยู่ในสถานการณ์ใด
ควรมีการบันทึกพฤติกรรมก่อนการลงโทษเเละหลังการลงโทษเพื่อเป็นเเนวทางให้ทราบว่าการลงโทษนั้นๆมีประสิทธิภาพหรือไม่
บิดา มารดาหรือผู้ดูแลควรมีลักษณะ
ปฏิบัติต่อเด็กโดยใช้การกระทำมากกว่าคำพูด
ชมเชยพฤติกรรมที่ดีมากว่าจัดการพฤติกรรมไม่ดี
ต้องปฏิบัติด้วยท่าทีหนักเเน่น จริงจัง เเละเด็ดขาด
ไม่ควรขัดเเย้งกันต่อหน้าเด็ก ต้องมีความเห็นตรงกันในการใช้เทคนิคนั้นๆ
ต้องกระทำด้วยความสม่ำเสมอ ข้อห้ามใดๆต้องนำมาปฏิบัติเป็นประจำ
การประเมินการเจริญเติบโตเเละพัฒนาการ
ขนาดรอบอก
ขนาดกระหม่อม
ขนาดรอบศรีษะ
สัดส่วนของร่างกาย
น้้าหนัก
ความหนาของของไขมัน
ส่วนสูง
การขึ้นของฟัน
กราฟการเจริญเติบโตของเด็ก
Weight for age สำหรับเด็กชายหรือเด็กหญิงอายุ 0-5 ปี,6-19 ปี
Weight for high สำหรับเด็กชายหรือเด็กหญิงอายุ 2-19 ปี
High for age สำหรับเด็กชายหรือเด็กหญิงอายุ 0-23 เดือน,2-19 ปี
กราฟเเสดงความสัมพันธ์ของน้ำหนักหรือส่วนสูงกับภาวะโภชนาการ
การประเมินการเจริญเติบโต
วิธีการประเมินการเจริญเติบโตที่ดีที่สุด คือการใช้ Growth chart ตามกราฟมาตรฐานการเจริญเติบโตของเด็กปกติ คือเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 50 ถ้าต่ำหรือมากกว่านี้ เเสดงว่า ขาดอาหารหรือโภชนาการ
การประเมินพัฒนาการเด็ก
การสัดพัฒนาการทางเพศ
การตรวจพัฒนาการทางการเห็น
เกณฑ์อายุกระดูก
การตรวจพัฒนาการทั่วไป
การขึ้นของฟัน
บทบาทพยาบาลเกี่ยวกับการเจริญเติบโตเเละพัฒนาการ
การส่งต่อ
การจัดบริการให้ความรู้แก่บิดามารดา/ผู้ดูเเล
กาารประเมินเเละคัดกรองกรเจริญเติบโตเเละพัฒนาการ
การตรวจเยี่ยมเพื่อติดตามการเจริญเติบโตเเละพัฒนาการ
การติดตามเเละเฝ้าระวังการเจริญเติบโตเเละพัฒนาการ
การจัดกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมการเจริญโตเเละพัฒนาการ
การศึกษาหาความรู้อย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับการเจริญเติบโตเเละพัฒนาการเด็ก