Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพการดูแลช่วยเหลือ มารดาและทารกในระยะที่ 2, นวรัตน์…
การประเมินภาวะสุขภาพการดูแลช่วยเหลือ
มารดาและทารกในระยะที่ 2
อาการแสดงว่าเข้าสู่ระยะที่ 2 ของการคลอด
อาการที่แสดงที่บ่งบอกว่าผู้คลอดเข้าสู่ระยะที่ 2 ของการคลอด (probable sign)
อยากถ่ายอุจจาระและปัสสาวะขณะที่มดลูกหดรัดตัว
รู้สึกอยากเบ่ง
มีเลือดสดออกทางช่องคลอดเล็กน้อย
ถุงน้ำทูนหัวแตก
ฝีเย็บตุง
มองเห็นส่วนนำของทารกทางช่องคลอด
การเคลื่อนต่ำของทารก
คลำส่วนของ cephalic prominences ไม่ได้ทางหน้าท้อง
ตำแหน่งเสียงหัวใจของทารกฟังได้ชัดเจนและเคลื่อนต่ำลงเรื่อยๆ ค่อนมาทางกึ่งกลางลำตัวของผู้คลอด
ตรวจหาระดับส่วนนำด้วยวิธี Leopold’s hand grip (ท่าที่ 3 และ 4)
ตรวจทางช่องคลอด พบระดับส่วนนำเคลื่อนต่ำลงมาเรื่อยๆ จากระดับ 0 เป็น +1 +2 +3
อาการแสดงที่แน่นอน (positive sign) ทราบได้จากการตรวจทางช่องคลอด จะคลำไม่พบขอของปากมดลูก
ปากมดลูกเปิดหมด 10 เซนติเมตร (fully dilatation)
การเตรียมด้านร่างกายและจิตใจเพื่อการคลอด
การเตรียมทางด้านร่างกาย
ท่าที่ใช้ในการคลอด
ท่านอนหงายชันเข่า (dorsal recumbent)
ให้ผู้คลอดนอนหงายชันเข่าขึ้นแยกขาให้
กว้าง เท้าจิกลงบนเตียง มือทั้งสองข้างจับข้อเท้า หรือจับข้างเตียงไว้ส าหรับยึดเวลาเบ่ง
ประโยชน์
ทำให้สามารถมองเห็นหน้า และหน้าท้องผู้คลอด
สามารถฟังเสียงหัวใจทารกได้อย่างชัดเจน
สามารถประเมินการหดรัดตัวของมดลูกได้สะดวก
ในผู้คลอดเมื่อรู้สึกเจ็บและเบ่งสามารถ
ดึงข้างเตียงได้สะดวก
เหมาะสำหรับผู้คลอดที่เป็นโรคหัวใจ
เพราะสามารถพักได้อย่างเต็มท
ท่านอนตะแคง
ให้ผู้คลอดนอนตะแคงซ้าย ก้นชิดริมเตียง งอขาเล็กน้อย เมื่อศีรษะ ทารกใกล้จะ crowning ผู้ทำคลอดเข้ามายืนด้านหลังของผู้คลอด หันหน้าไปทางปลายเท้า แขนซ้ายลอดข้าม หน้าท้องไปอยู่ระหว่างหน้าขาของผู้คลอด เพื่อกดเบาๆ บริเวณ vertex มือขวาทำหน้าที่ควบคุมบริเวณฝีเย็บ
ประโยชน์
สามารถควบคุมแรงเบ่งได้ดีกว่า ทำให้มีการคลอดของศีรษะช้า
มีการฉีกขาดของแผลฝีเย็บได้น้อย
แรงกดทับของมดลูกต่อเส้นเลือดดำใหญ่ที่นำเลือดเข้าสู่หัวใจน้อย
ถ้าทารกมีขนาดใหญ่ อาจคลอดติดไหล่ การนอนท่านี้จะสามารถใช้มือช่วยดึงออกได้
ช่วยในการเงยของศีรษะได้ง่าย โดยเฉพาะในผู้คลอดที่ได้รับยาระงับความรู้สึก ถ้าผู้คลอดอาเจียนจะช่วยไม่ให้เกิดการสำลักเข้าไปในปอด
ท่านอนหงายขึ้นขาหยั่ง ( lithotomy position)
ในท่านี้ขาของผู้คลอดจะวางบนขาหยั่ง ดังนั้นขาของผู้คลอดจะพับขึ้นมาทางหน้าท้อง
ประโยชน์
ทำให้ช่องทางออกกว้างขึ้น โดยเฉพาะเส้นผ่านศูนย์กลางหน้าและหลัง (A-P diameter)
สะดวกในการทำสูติศาสตร์หัตถการ
ข้อเสีย
ขาของผู้คลอดกดกับขาหยั่งทำให้เกิด Thrombophlebitis ได้
ผู้คลอดจะรู้สึกเมื่อย
ถ้าขาดความชำนาญในการทำคลอด อาจเกิดอุบัติเหตุกับทารกได้
การ safe perineum จะทำได้ยาก
เกิดการฉีกขาดได้ง่าย
การฟอกทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก (scrub vulva)
เพื่อให้บริเวณคลอด
สะอาดปราศจากเชื้อแบคทีเรีย
ครรภ์แรกจะ scrub เมื่อผู้คลอดเบ่งเห็นไรผม ครรภ์หลังจะ scrub เมื่อปากมดลูกเปิดหมด
ผู้ทำคลอดควรสวมผ้ายางกันเปื้อน ล้างมือให้สะอาดสวมถุงมือที่สะอาดปราศจากเชื้อ โดย ก่อนที่จะฟอกควรบอกให้ผู้คลอดทราบเพื่อความร่วมมือ
จัดท่าให้ผู้คลอดนอนหงายชันเข่า
การฟอกจะฟอกไปทิศทางเดียวกันด้วยสำลีชุบน้ำสบู่หรือน้ำยาฆ่าเชื้อเช่น hibiscurb
สำลีก้อนที่ 2 ฟอกต้นขาด้านไกลตัวผู้ทำคลอดก่อน โดยฟอกตั้งแต่โคนขาไปถึง2/3 ของขา ท่อนบน จากข้างบนลงมาข้างล่างและแก้มก้น
สำลีก้อนที่ 3 ฟอกขาด้านใกล้ตัวผู้ทำคลอดทำเช่นเดียวกับก้อนที่ 2
สำลีก้อนที่ 4 ฟอก labia minora ด้านไกลตัวผู้ทำคลอดก่อนตั้งแต่ข้างบนลงมาถึงฝีเย็บ แล้ว พลิกสำลีใช้อีกด้านหนึ่งทำความสะอาด labia majora ข้างเดียวกัน จากด้านบนลง มาด้านล่างและจากด้านในออกไปด้านนอก
สำลีก้อนที่ 5 ฟอก labia minora และ labia majora ด้านใกล้ตัว เช่นเดียวกับก้อนที่ 4
สำลีก้อนที่ 6 ทำความสะอาดบริเวณ vestibule จากข้างบนลงมาถึง anus รอบๆ anus แล้วทิ้งไประวังสำลี contaminate บริเวณที่ Scrub
สำลีก้อนที่ 1 ฟอกจากหัวหน่าวขึ้นไปจนถึงสะดือ ฟอกจากด้านใกล้ตัวไปไกลตัวผู้ทำคลอด
การเตรียมทางด้านจิตใจ
โดยบอกขั้นตอนการช่วยเหลือการคลอดให้ผู้คลอดเข้าใจ
บอกแนวทางในการปฏิบัติตัวของผู้คลอด
ให้กำลังใจดูแลผู้คลอดอย่างใกล้ชิด
การดูแล
เน้นเพื่อลดความกลัว ความวิตกกังวล
ประเมินสีหน้าท่าทาง
ช่วยให้ผู้คลอดมีกำลังใจและอุ่นใจ และยังเป็นการส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีของครอบครัว โดยเฉพาะบทบาทบิดา มารดา (มณีภรณ์ โสมานุสรณ์, 2554) เห็นได้จากการศึกษาของ Laursen, Hedegaard, & Johansen (2008) เรื่องปัจจัยทำนายความกลัวของหญิงตั้งครรภ์แรกในกลุ่มประเทศเดนมาร์ก พบว่า ความเข้าอกเข้าใจทำให้การบริการมีประสิทธิภาพและเห็นผลลัพธ์ที่ชัดเจน โดยพบว่า เป็นสัมพันธภาพทางบวกช่วยให้ผู้รับบริการบรรเทาความเจ็บปวด อัตราการเต้นของหัวใจและการหายใจดีขึ้น ลดความวิตกกังวลและความบีบคั้นทางจิตใจ
เปิดโอกาสให้ผู้คลอดระบายความรู้สึกหรือความกังวล
ให้การช่วยเหลือที่ไม่ขัดต่อการรักษาพยาบาล
การอนุญาตให้สามีหรือญาติเข้ามาเยี่ยม
การดูแลมารดาในระยะที่ 2 ของการคลอด
ประเมินว่ากระเพาะปัสสาวะเต็มหรือไม่
สภาวะของทารกในครรภ์ โดยการฟังเสียงของหัวใจทารกในครรภ์ทุก 15-30 นาที เป็นอย่างน้อย
ในรายที่มีภาวะผิดปกติ ต้องฟังทุกครั้งที่มดลูกคลายตัว
มีขี้เทา
มารดามีโรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดผลเสียต่อการไหลเวียนเลือด
ปกติประมาณ 120-160 ครั้งต่อนาที
. แรงเบ่ง (bearing down effort) โดยการประเมินลักษณะการเบ่งของผู้คลอดว่าถูกต้องหรือไม่ เบ่งแล้วการคลอดก้าวหน้าหรือไม่
ถ้าผู้คลอดเบ่งแล้วการคลอดไม่ก้าวหน้า อาจเป็นเพราะทารกในครรภ์อยู่ในท่าที่ผิดปกติหรือเชิงกรานไม่กว้างพอ
สัญญาณชีพ โดยการจับชีพจร นับการหายใจและวัดความดันโลหิต ทุก 30 นาทีถึง 1 ชม
PR > 90 ครั้งต่อนาที ,BP > 90/60 mmHg , RR > 24 ครั้งต่อนาที
อาจแสดงถึงผู้ป่วยมีการตกเลือดในระยะคลอดและเกิดภาวะช็อค
หากมีภาวะเสี่ยงให้ตรวจวัดทุก 30 นาที
ถ้าความดันโลหิตสูงกว่าปกติต้องสังเกตอาการผู้คลอดอย่างใกล้ชิด
อาจเป็นสาเหตุให้เกิดการชักในระยะคลอดได
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ โดยการตรวจภายในเพื่อประเมินระดับส่วนนำของทารก การสังเกต
บริเวณฝีเย็บ และการเคลื่อนต่ำของตำแหน่งเสียงหัวใจทารกในครรภ์ที่ฟังได้ชัดเจนที่สุด
ถ้ามดลูกหดรัดตัวไม่ดีหรือแรงเบ่งไม่ดี การเคลื่อนต่ำของส่วนนำก็จะไม่ดีด้วย ทำให้ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน (prolonged second stage of labor)
สภาวะร่างกายของผู้คลอด
โดยประเมิน
ภาวะอ่อนเพลีย หมดแรง
ขาดน้ำ ขาดอาหารหรือไม่
รวมทั้งการประเมินระดับความเจ็บปวด
พฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดของผู้คลอด
การหดรัดตัวของมดลูก โดยประเมินทุก 15 นาที หรือทุกครั้งที่มีการหดรัดตัวของมดลูกและคลายตัว
ปกติมดลูกจะมีการหดรัดตัว ทุก 2-3 นาที นาน 60-90 วินาที ความรุนแรงระดับ +++
ถ้ามดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติหรือมากกว่าปกติ อาจทำให้เกิดอันตรายต่อมารดาและทารกได้
มดลูกหดรัดตัวของมดลูกมากกว่าปกติชนิดไม่คลาย(tetanic contraction)บวกกับ bandl , s ring
เกิดมดลูกแตก
สภาวะจิตใจของผู้คลอด
โดยประเมิน
ความหวาดกลัวของผู้คลอดต่อการคลอด
ทำให้มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
เกิดการคลอดล่าช้าได้
ประเมินความรู้สึกวิตกกังวล
ระยะการคลอด
ระยะที่สองของการคลอด (Second stage of labor)
เป็นระยะเริ่มตั้งแต่ปากมดลูกเปิดหมดจนกระทั่ง ทารกคลอด
Descent หรือ Active phase
เป็นช่วงเวลาที่ส่วนนำเคลื่อนต่ำลงมา
สามารถเห็น Labia minora แยกจากกัน
เห็นส่วนนำทารก
Perineal phase
การหดรัดตัวของมดลูกรุนแรงมากขึ้น
ฝีเย็บเริ่มบางโป่งตึง
Early หรือ Late phase
ระยะนี้ใช้เวลา 10-30 นาท
อาการสงบลงหลังจากปากมดลูกเปิดหมด
เป็นช่วงที่จะเตรียมเบ่งต่อไป
โดยทั่วไปครรภ์แรกใช้เวลาไม่เกิน 2 ชั่วโมง
ครรภ์หลังใช้เวลาไม่เกิน 1 ชั่วโมง
มดลูกมีการหดรัดตัวทุก 2-3 นาที นาน 60-90 วินาท
นวรัตน์ ไวชมภูและศิริพันธุ์ ศิริพันธุ์. (2561). การดูแลระยะรอคลอดด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์: บริบทชายแดนใต้
Humanized Care in Intrapartum Care: Southern Border Context. สืบค้นวันที่ 6 พฤษภาคม 2563,จาก
https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pnuhuso/article/download/110105/86378/ใ