Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพลยพลาว - Coggle Diagram
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพลยพลาว
มโมติหลัก
บุคคล คือสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในสิ่งเเวดล้อมที่มีการเปลี่ยนเเปลงทั้งทางกายภาพ จิตในเเละสังคมอยู่ตลอดเวลา
ผู้ป่วยหรือผู้รับปรการ ผู้ที่เจ็บป่วยเเละผู้สุขภาพดี รวมถึงกลุ่มบุคคล
พยาบาล เป็นสื่อกลางของศิลปะการพยาบาล เป็นการผสมผสานอย่างเป็นหนึ่งเดียวกัน
สิ่งเเวดล้อม เพบพลาวหมายถึงปัจจัยทางด้านกายภาพ จิตใร เเละสังคมที่มีการเปลียนเเปลงตลอดเวลา
สุขภาพ เพบพลาวกล่าวไว้ว่าเป็นคำสัญลักษณ์ที่สื่อถึงการพัฒนาไปข้างหน้าของบุคลิกภาพเเละกรบวนการอื่นๆ
การพยาบาล เพลบพลาวกล่าวว่าการพยาบาลคือเครื่องมือใการศึกษาหาความรู้เป็นพลังอำนาจ เพื่อส่งเสริมให้เกิความก้าวหน้าของบุคลิกภาพในเเนวทางสร้างสรรค์
แนวคิดที่สำคัญ
สัมพันธภาพระหว่างบุคคล เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลตั้งเเต่ 2 คนขึ้นไป
สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลเเละผู้ป่วย เป็นสัมพันธภาพระหว่างบุคคลที่จำเพาัเจาะจง
ระยะเริ่มต้น ระยะเเรกของการเริ่มต้นที่พยาบาลเเละผูป่วยพบหน้ากันในลักษณะคนเเปลกหน้า
ระยะดำเนินการ มีระยะย่อยๆ 2 ระยะ
ระยะระปัญหา เป็นระยะที่ผู้ป่วยรู้จักกับพยาบาลเเละเข้าใจจุดประสงค์ของสัมพันธภาพระหว่าพยาบาลกับผู้ป่วย
ระยะดำเนินการเเก้ปัญหา เป็นระยะที่ผู้ป่วยดำเนินแก้ปัญหาตามแผน
ระยะสรุปผล เป็นระยะที่ทั้งสองฝ่ายตดลงสิ้นสุดสัมพันธภาพร่วมกันเกิดขึ้นเมือ่แผนในการแก้ปัญหาทั้งหมดประสบผลสำเร็จ
สัมพันธภาพระหว่างบุคคลอื่นๆ ที่นอกเหนือจากสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วยในปัจจุบัน
การติดต่อสื่อสาร เป็นกระบวนการระหว่าบุคคลประกอบด้วยการสื่อสารแบบใช้คำพูดเเละไม่ใช่คำพูด
ความชัดเจน คำและประโยคที่ใช้มีความชัดเจน ทำให้สามารถเข้าใจตรงกัน
ความต่อเนื่อง ความต่อเนื่องในการสื่อสารเกืดขึ้นได้ เมื่อใชภาษาเป็นดครืองมือในการส่งเสริมให้เกิดความสอดคล้อง
แบบแผนการมีปฏิสัมพันธ์ เกิดเมื่อแบบแผนของบุคคลหนึ่งใช้ในการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลหนึ่ง
บทบาท บทบาทของพยาบาลอธิบายถึงบทบาทที่มีความเกี่ยวพันกันของพยาบาลในการช่วยเหลือผู้ป่วย
บทบาทคนแปลกหน้า เป็นบทบาทที่พยาบาลเเละผู้รับบริการพบกันครั้งเเรก
บทบาทแหล่งสนับสนุน เป็นบทบาทที่พยาบาลทำหน้าที่ให้ความรู้หรือข้อมูลเฉพาะ
บทบาทครู เป็นบทบาทที่พยาบาลกระทำร่วมกับบทบาทอื่นๆ
บทบาทผู้นำ เป็นบทบาทที่ช่วยให้ผู้รับบริการเกิดความคิดริเริ่มเเละสามารถดำเนินการตามเป้าหมาย
บทบาทผู้ทดแทน เป็นบทบาทในการทำหน้าที่ทดแทน
บทบาทผู้ให้คำปรึกษา เป็นบทบาทในการใช้ทักษะและทัศนคติที่ฝึกมาโดยเฉพาะ
ความคิด เป็นกระบวนการที่ประสบการณ์ต่างๆถูกรวบรวม เก็บสะสม จัดระบบและสามารถเรียกกลับคืนได้
Preconceptions คือ ความคิดที่มีมาก่อนการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้ป่วยกับพยาบาลซึ่งหมายถึงความคิดความรู้สึกและสมมติฐานของพยาบาล
Self - understanding คือการเข้าใจ ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับพยาบาลเพื่อให้การปฏิบัติการพยาบาลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
การเรียนรู้ การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ไม่หยุดนิ่ง เป็นการนำความสามารถในการคิดเเละความสามารถใรการรับรู้
สมรรถนะ คือ ทักษะที่ถูกพัฒนาขึ้น สมรรถนะหรือศักยภาพที่สำคัญที่ต้องการให้เกิดการพัฒนา
ความวิตกกังวล ความวิตกกังวลเป็นพลังงานที่ถูกกระตุ้นจากสิ่งที่เกิดขึ้นหรือเกิดขึ้นจากจิตนาการ
การนำไปประยุกต์ใช้
การนำทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
การนําทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพบพลาวไปประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล ลําดับแรก ควรให้ความสําคัญกับการเตรียมตัวของพยาบาลก่อนที่จะเริ่มสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย โดยมีแนวทาง ปฏิบัติคือ พยาบาลควรมีการประเมินตนเอง (Self - Assessment) เพราะหากพยาบาลตระหนักในตนเอง อย่างดีจึงจะสามารถใช้ความเข้าใจตนเองเป็นเครื่องมือในการเข้าใจผู้ป่วย
การนำทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ในงานวิจัย
การนําทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพบพลาวไปประยุกต์ใช้ในงานวิจัย ซึ่งมีการนําไปใช้ ที่หลากหลายไม่เพียงในบริบทของการพยาบาลเท่านั้น แต่ยังมีการนําไปประยุกใช้ในกลุ่มอื่นด้วย
ประวัติ
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพบพลาว (Peplau‘s Theory of Interpersonal Relations) พัฒนาขึ้นโดยฮิลด์การ์ด เพบพลาว
ประวัติผู้พัฒนาทฤษฎี
1931 สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรทางการพยาบาลที่เมือง Pottstown, Pennsylvania Hospital School of Nursing.
1943 สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขา Interpersonal psychology
1947 สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขา Psychiatric nursing
1953 สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขา Curriculum development
พัฒนาการของทฤษฎี
เป็นผลจากการเรียนการสอนพยาบาลจิตเวชและ สุขภาพจิตให้กับนักศึกษาพยาบาลและนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา รวมทั้งจากประสบการณ์ในการเป็น พยาบาลในโรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลจิตเวช จึงทําให้ฮิลด์การ์ด เพบพลาว เกิดความสนใจที่จะทํา ความเข้าใจสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วย