Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก Infertility, นางสาวอรยา กุดตุ้ม เลขที่ 94 ห้อง B…
ภาวะมีบุตรยาก Infertility
ความสามารถในการมีบุตร
อายุฝ่ายชาย อายุ > 55 ปี ขึ้นไป จะมีความผิกปกติของอสุจิมากขึ้น
อสุจิที่สร้างขึ้นมาใหม่มีคุณภาพดี แข็งแรงและมีชีวิตอยู่ในท่อน้ำไข่ของฝ่ายหญิงได้ประมาณ 2 วัน ดังนั้น ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ที่เหมาะสมคือ 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์
อายุฝ่ายหญิง 21-25 ปี ความสามารถมีบุตรได้สูง
ความหมาย
การที่คู่สมรสไม่สามารถมีการตั้งครรภ์ได้ โดยที่มีความสัมพันธ์ทางเพศกันอย่างสม่ำเสมอ และไม่ได้คุมกำเนิดมาเป็นระยะเวลา 1 ปี หรือระยะเวลา 6 เดือน ในกรณีที่คู่สมรสฝ่ายหญิงที่มีอายุเกิน 35 ปีขึ้นไป
วิทยาการการช่วยเหลือการมีบุตร
GIFT
นําเอาไข่ เลือกที่สมบูรณ์แล้วนําเครื่องมือที่นําอสุจิและเซลล์ไข่ใส่เข้าไปในท่อนําไข่
แต่ในกรณีนี้ต้องไม่มีปัญหาที่ปีกมดลูก
เจาะดูดไข่ออกมาแล้วนําไข่ที่ได้ 3-4 ใบมารวมกับตัวอสุจิทีผ่านการคัดแยก
นําไข่และเชื้ออสุจิไปใส่ในท่อนําไข่หลังจากกระตุ้นไข่
ฉีดผ่านเข้าไปในท่อนําไข่ทันที
IVF
ไข่และเชื้ออสุจิเกิดการปฏิสนธินอกร่างกายเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ
นําตัวอ่อนที่ได้ใส่เข้าไปในโพรงมดลูกเพื่อให้มีการเจริญเติบโต
การปฏิสนธินอกร่างกายและการย้ายตัวอ่อน
ข้อบ่งชี้
ท่อนําไข่ตีบตัน และความผิดปกติของปากมดลูก หรือการตกไข่
มีเยื่อพังผืดในอุ้งเชิงกรานซึ่งขัดขวาง การเดินทางของไข่เข้าสู่โพรงมดลูก
เรียกว่า เด็กหลอดแก้ว
การเก็บสเปิร์ม
ถ้าต้องการเก็บสามารถเก็บได้ไว้ในไนโตรเจนเหลว
หลังภายนอกเลือกสเปิร์มที่แข็งแรงเท่านั้น
การเก็บไข่
สามารถเห็นได้จากอัลตราซาวด์
แทงเข็มผ่านทางช่องคลอดเข้าสู่รังไข่โดยตรง
ZIFT
คล้ายกับการทําเด็กหลอดแก้ว
ไข่และเชื้ออสุจินำมาผสมกัน และเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ 1 วัน
เกิดการปฏิสนธิแล้วจะใส่ตัวอ่อนกลับเข้าสู่ฝายหญิงผ่านทางหน้าท้องใส่ไปในท่อนําไข่
Micromanipulation
ICSI
นําเชื้ออสุจิเพียงหนึ่งตัวเจาะใส่เข้า Ooplasm โดยตรง
ฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์ไข่โดยตรงทําให้อสุจิไม่ต้องว่ายไป หาไข่ซึ่งอสุจิทีไม่แข็งแรงสามารถปฏิสนธิกับไข่ได้
ข้อบ่งชี้
อิ๊กซี่เป็นวิธีที่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาจํานวนอสุจิน้อยมาก
ทําให้เกิดการตั้งครรภ์ได้แม้ในราย ที่มีปริมาณอสุจิน้อยกว่า 100 ตัว
ตัวอสุจิน้อยมาก เคลื่อนไหวไม่ดี
ในกรณีที่ผู้ชายเป็นหมันสามารถนําเอา อสุจิออกจากอัณฑะแล้วนํามาทํา ICSI
มีปัญหาทางด้านเชื้ออสุจิจํานวนน้อยมาก ไม่เคลื่อนไหว
ใช้เข็มเล็กๆเจาะเปลือกไข่ แล้วให้เชื้ออสุจิวิ่งผ่านรูที่เจาะวิธีนี้ต้องอาศัยเครื่องมือพิเศษ
การกระตุ้นการตกไข่โดยการให้ GnRH เป็นระยะกระตุ้นการผลิต FSH และ LH มีผลให้มีการตกไข่มากกว่า 1 ใบ นําไข่ออกมาเลือกใบที่แข็งแรงใช้ตามการปฏิสนธินอกร่างกาย
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยาก
ฝ่ายหญิง
การตรวจร่างกาย
การตรวจต่อมไร้ท่อ
Hypothalamus, Pituitary, Thyroid
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด เช่น PV, Wet smear
ตัวมดลูก เช่น PV, Hysterosalpingogram, Endometrium biopsy, Hysteroscopy, U/S
คอมดลูก เช่น PV ดูลักษณะทางกายวิภาคตรวจมูกคอมดลูก
ท่อนําไข่ได้แก่ CO2insufflation หรือ Rubin test , Hysterosalpingogram, Laparoscope
การตรวจร่างกายทั่วไป
Secondary sex โรคทางอายุรกรรมที่เป็นสาเหตุให้มีบุตรยาก
การประเมินท่อนำไข่ มดลูก และอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
ความหมาย
ภาวะอุดตันของท่อนำไข่มักเกิดภายหลังการอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การวินิจฉัย
เยื่อพังผืดในช่องเชิงกราน
Laparoscope
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ
PCT (postcoital test)
Endoscopy การส่องกล้อง
Laparoscopy ตรวจในอุ้งเชิงกราน
Hysteroscopy ตรวจโพรงมดลูก
รังไข่
BBT, Cx mucous, Endometrium biopsy, Serum progesterone
Hysterosalpingogram(HSG)การฉีดสารทึบรังสีและเอ็กซ์เรย์
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
วัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในในกระแสเลือดที่ กึ่งกลางของระยะลูเทียลเพื่อตรวจในช่วงประมาณ 1 สัปดาห์ก่อนที่ประจําเดือนมา
การตรวจปัจจัยด้านปากมดลูก
การตรวจวัด basal body temperature
˃10 μ/dl=มีการตกไข่คอร์ปสลูเตียมทํางานปกติด้วย
การตรวจการทํางานของอสุจิ
˃5 μ/dl = มีการตกไข่
การทํา Postcoital test
เพื่อดูมูกที่ปากมดลูกและดูความสามารถของอสุจิที่จะว่ายผ่านขึ้นไปสู่โพรงมดลูก
งดมีเพศสัมพันธ์มาเป็นเวลา 2-3 วันและตรวจประมาณ 9-24 ชั่วโมงหลังจากนั้น
ระยะเวลาที่เหมาะสมในการตรวจได้แก่ 1-2 วัน ก่อนการตกไข่
ตรวจโดยใช้syringeเล็กๆดูดเอามูกบริเวณposterior fornix ป้ายบนแผ่นสไลด์เพื่อดูว่ายังคงมีตัวอสุจิหรือไม่และดูดจากช่องคอมดลูก
หากเป็นช่วงของการตกไข่ มูกจะใสและยืดได้ยาวก่อนที่จะขาดออกจากกันหากปล่อยให้แห้งจะตกผลึกเป็นรูปใบเฟิร์นจะแปลผลว่ามีการตกไข่
นําไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์เพือดูว่ามีตัวอสุจิทีมีการเคลือนไหว
ตัวอสุจิที่ไม่มีการเคลื่อนไหวเลยอาจแสดงถึงการอักเสบ ของปากมดลูกโดยเฉพาะหากตรวจพบว่ามีเม็ดเลือดขาว
อสุจิที่เคลื่อนไหวไปข้างหน้าเกิน 5 ตัว แสดงว่าอสุจิสามารถว่ายผ่านมูกขึ้นไปได้ และมูกที่ปากมดลูกยังทําหน้าที่เป็นแหล่งเก็บกักอสุจิ และคอยส่งขึ้นไปในโพรงมดลูก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด
การตรวจฮอร์โมน
ประวัติ
ประวัติการมีประจําเดือน
การผ่าตัด การแต่งงานหรือการมีบุตร
ฝ่ายชาย
การซักประวัติ
การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด การได้รับการกระทบกระเทือนที่อวัยวะสืบพันธ์
การได้รับยา รังสี สารเคมี
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต เช่นโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจฮอร์โมน
การตรวจน้ำอสุจิ
การตรวจวิเคราะห์น้ำอสุจิ
จํานวนของตัวอสุจิทั้งหมด ≥ 40 ล้านตัว
ความเป็นกรด-ด่าง ≥ 7.2
การเคลื่อนที่ของตัวอสุจิ ≥ ร้อยละ 50 มีการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า
จํานวนเม็ดเลือดขาว <1 ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
ความหนาแน่นของตัวอสุจิ ≥ 20 ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
รูปร่าง ลักษณะ ≥ ร้อยละ 14 มีรูปร่างลักษณะปกติ
ปริมาตร ≥ 2 มิลลิลิตร
การมีชีวิต ≥ ร้อยละ 75
การตรวจอสุจิ
นําน้ำอสุจิส่งตรวจภายใน 1 ชั่วโมง ภายหลังที่เก็บได้
ใส่ภาชนะที่เตรียมให้เท่านัน
งดการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวันตรวจ 2-7 วัน
ไม่แนะนำให้มีการมีเพศสัมพันธ์ก่อนแล้วหลั่งข้างนอก
ค่าปกติของน้ำอสุจิ
จํานวนตัวอสุจิ ต่อ ซีซี มีค่าเท่ากับ 20 ล้านตัวต่อซีซี หรือมากกว่า
การเคลื่อนไหว มีค่าเท่ากับ 50 % หรือมากกว่า
ความเป็นกรด-ด่าง มีค่าเท่ากับ 6-8
ลักษณะรูปร่าง มีค่าเท่ากับ 50 % ปกติหรือมากกว่า
ปริมาณน้ำเชื้อ มีค่าเท่ากับ 2 cc. หรือมากกว่า
การมีชีวิต มีค่าเท่ากับ 50 % มีชีวิตหรือมากกว่า
การตรวจเลือดทั่วๆไป
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
การตรวจระบบสืบพันธ์
ลักษณะรูปร่างอัณฑะ
หนังหุ้มปลายองคชาต
ลักษณะและรูเปิดของท่อปัสสาวะ
หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ
สาเหตุ
ฝ่ายหญิง
ท่อนำไข่ พบร้อยละ 30
การทำงานของรังไข่ผิดปกติ พบร้อยละ 40
Endometriosis พบร้อยละ 20
Immunological พบร้อยละ 5
Other พบร้อยละ 5
ฝ่ายชาย
ภาวะทางด้านจิตใจ เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล
Sexual factors พบร้อยละ 10 เช่น Electile dysfunction, Premature dysfunction ฯ
Sperm dysfunction พบร้อยละ 80 เช่น เชื้ออสุจิน้อย มีรูปร่างผิดปกติ หรือมีการเคลื่อนไหวน้อย
Other พบร้อยละ 10
ชนิด
แบบทุติยภูมิ (Secondary infertility)
การที่ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อน อาจะแท้งหรือคลอดก็ตาม และไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลยเป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
แบบปฐมภูมิ (Primary infertility)
การที่ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ เป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
การรักษาการมีบุตรยาก
กระตุ้นไข่
ผสมเทียม
ตัวอสุจิว่ายจากโพรงมดลูกไปทางท่อนําไข่และผสมกับไข่
ใช้ยากระตุ้นให้มีไข่ตกมากกว่าหนึ่งใบ
นําน้ำอสุจิที่ได้รับการคัดแยกมาแล้วฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่
วิธีการนีไม่เหมาะ
ท่อนําไข่เสียหายเยื่อบุมดลุกเจริญผิดทําให้ไข่ไม่ตกเข้าท่อนําไข่
ผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องน้ำอสุจิ เช่น มีจํานวนน้อย
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนําไข่ตีบตันหรือมีพังผืดขวางทาง ระหว่างไข่กับทางเข้าท่อนําไข่
เชื้ออสุจิเข้าไปภายในอวัยวะสืบพันธุ์ของสตรี ในช่วงที่ไข่ตกวิธีนี้เหมาะกับผู้ชายที่เชื้ออ่อนแอ
กําหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธ์
นางสาวอรยา กุดตุ้ม เลขที่ 94 ห้อง B รหัสนักศึกษา 613601203