Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการเจริญเติบโต เเละพัฒนาการของเเต่ละวัย - Coggle Diagram
การส่งเสริมการเจริญเติบโต
เเละพัฒนาการของเเต่ละวัย
การสร้างเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน
รู้จักเล่น เดี่ยว กลุ่ม เริ่มเข้าใจคนอื่น
ความนึกคิดยังไม่สมบูรณ์ (illogical idea)
ช่วยเหลือตนเองได้ดีขึ้น
ถือตนเองเป็นใหญ่ (erocentric)
ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการของเด็กวัยเรียน
เพียร์เจต์
สามารถเเยกกลุ่มสิ่งของได้ตามลักษณะทั่วไป รับรู้ต่อเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นพร้อมกันได้
โคลเบอร์ก
ระดับที่ 1 ระดับก่อนกฎเกณฑ์ (Pre-conventional) ขั้นที่ 2 เเสวงหารางวัล 7-10 ปีเเละทำตามคนอื่น 10-13 ปี
อีริคสัน
พัฒนาความขยันหมั่นเพียรหรือรู้สึกด้อย
ฟรอยด์
ขั้นแฝง (Latency stage) ความหันเหทางเพศไปสู่สิ่งอื่น ๆในระยะนี้ชอบสังคมในหมู่เพื่อนเพศเดียวกัน
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน
เสริมสร้างจริยธรรม
การป้องกันอุบัติเหตุ
การออกกำลังกาย ส่งเสริมให้ออกกำลังกายในครอบครัว
การเล่น เล่นเป็นกลุ่ม สร้างพัฒนาการทางอารมณ์ที่ดี
สุขวิทยาส่วนบุคคล อาบน้ำ สระผม เเต่งตัว ดูเเลขณะมีประจำเดือน ฝันเปียก
การนอน นอน 8-10 ซม./วัน เป็นเวลา
ปัญหาสุขภาพหรือปัญหาพฤติกรรม
ฟันผุ ฟันผิดปกติ
ปัญหาการเรียน ไม่ตั้งใจเรียน ไม่มีสามาธิ กลัวกังวล เรื่องเรียน
ปัญหาพูด การออกเสียง
ปัญหาทะเลาะกับเพื่อน ครู
ความรักเเละเพื่อนต่างเพศ
พฤตืกรรมอื่น ๆ ขโมย โกหก gang ทะเลาะวิวาท
คำเเนะนำการส่งเสริมสุขภาพของเด็กวัยเรียน
โรงเรียน : การบ้าน/การเอาใส่ใจสนใจจากพ่อเเม่
ครอบครัว : กสรเเสดงความรักความสนใจจากพ่อเเม่
พัฒนาการ/พฤติกรรม : มีการปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มเพื่อน
อาหาร : ต้องการอาหารที่สมดุลครบถ้วน
ความปลอดภัย : ระวังอันตรายบนท้องถนน การขับขี่จักรยาน
สุขภาพ : เน้นการมีน้ำหนักตัวที่เหมาะสม มีการออกกำลังกาย เริ่มมีพัฒนาการทางเพศ
การสร้างเสริมสุขภาพเด็กวัยรุ่น
ธรรมชาติของเด็กวัยรุ่น
ต้องการการยอมรับจากผู้อื่น
พึ่งพาตนเองมากขึ้น
มีความเป็นส่วนตัวมากขึ้น
มีความสนใจทางเพศ เเละสนใจเพศที่ตัวเองสนใจ
มีกลุ่มเพื่อนของตนเองเเละมีความผูกพัน
ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการของเด็กวัยรุ่น
อีริคสัน
พัฒนาเอกลักษณ์ของตนเองหรือสับสนในบทบาท
เพียร์เจต์
คิดแบบตรรกศาสตร์เเละนามธรรมได้
ฟรอยด์
ขั้นอวัยวะสืบพันธุ์ (Genital stage) มีเเรงขับทางเพศมากสนใจเพศตรงข้าม
โคลเบอร์ก
ระดับ 2 ขั้นที่ 4 ทำตามระบบระเบียบของสังคม 13-16 ปี ระดับ 3 ขั้นที่ 5พิจารณาถึงเหตุผลที่อยู่เบื้องหลังกฎเกณฑ์ 16 ปีขึ้นไป
การเจริญเติบโตเเละพัฒนาการทางร่างกาย
ขนาดร่างกาย มีการเจริญเติบโต ร่างกายได้สัดส่วนขึ้น
ขายาว มือเท้าใหญ่ สะโพก หน้าอก เริ่มขยายใหญ่ขึ้น
มีพัฒนาการเพศ
น้ำหนัก
ความต้องการของวัยรุ่น
ต้องการอิสรภาพ
ต้องการแบบอย่างที่ดี
ต้องการความรัก ความเข้าใจ
ต้องการให้เป็นที่ยอมรับนับถือ
ต้องการทางเพศ
ต้องการหาเลี้ยงชีพด้วยตนเอง
ต้องการความสนุกเพลิดเพลิน
ปัญหาของเด็กวัยรุ่น
Eating disorder
โรค anorexia nervosa กลัวไม่สวย
โรค Bulimia กินเข้าเเล้วอาเจียนออกมา
โรคอ้วน การจัดการเรื่องอาหารเเละออกกำลังกาย
สิว (acne)
ความผิดปกติของประจำเดือน
เพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นเเละการตั้งครรภ์
การประเมินพัฒนาการ
การตรวจเพื่อคัดกรอง (Screening procedure)
การตรวจเพื่อกสนวินิจฉัย (Diagnosis procedure)
ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางในการตรวจอย่างละเอียดถี่ถ้วน
Delveopmental Milestones
เป็นการสังเกตพฤติกรรมของเด็กว่าสามารถกระทำสิ่งต่างๆในช่วงอายุใด เปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานของเด็กทั่วๆไปใช้ง่าย ไม่เสียเวลาเเละผู้ปกครองสามารถนำไปใช้สังเกตลูกของตนเองได้
แบบคัดกรองพัฒนาการของ Milestones
5 เดือน
ใช้เท้ายันพื้น ชอบเลียเเละอมของเล่น
6 เดือน
หันตามเสียง สังเกตคนแปลกหน้า
4 เดือน
คว่ำได้ คว้าจับของใกล้มือ เอามือใส่ปากเเละหัวเราะเสียงดัง
7 เดือน
เปลี่ยนมือถือของ
3 เดือน
ชันคอได้ ชอบเล่นมือตัวเอง จำเเม่ได้
8 เดือน
คลาน ชอบเล่นหยิบเเละทิ้งของบ่อยๆ
2 เดือน
เมื่อนอนคว่ำ ยกศรีษะได้ 45 องศา ยกอกพ้นพื้น ยิ้มเเละสนใจเสียงคนพูด
9 เดือน
เกาะยืน จับของด้วยนิ้วชี้เเละหัวเเม่มือ
1 เดือน
เมื่อนอนค่ำ ยกศรีษะได้ชั่วขณะเเละจ้องหน้า
10 เดือน
เกาะเดิน รู้จักชื่อตนเอง
เเรกเกิด
การเคลื่อนไหวเป็นรีเฟล็กซ์ทั้งหมด เช่น การดูด การหันหน้า ปฏิกิริยาการรับเเสงของม่านตา
12 เดือน
ยืนได้ เดินจูงมือ หัดก้าวเดิน ดื่มนมจากถ้วย
15 เดือน
เดินได้คล่อง คลานขึ้นบันได
18 เดือน
เดินถอยหลัง รู้จักอวัยวะของร่างกายเเละถอดเสื้อผ้าได้เอง
21 เดือน
วิ่งเก่ง เตะบอลได้ ช่วยทำงานบ้านง่าย ๆได้
24 เดือน
กระโดดอยู่กับที่ ชอบฟังนิทาน ดูรูปภาพ
3 ปี
ถีบจักยาน 3 ล้อ บอกชื่อ-สกุล หัดร้องเพลง
4 ปี
เดินลงบันไดขาสลับข้าง เเต่งตัวเอง
5 ปี
ยืนขาเดียว วาดรูป รู้จักหนัก-เบา พูดเก่งเเละเล่านิทานได้
6 ปี
สะกดคำง่ายๆ รู้จักเวลาเช้า-บ่าย
แบบวัดพัฒนาการของเดนเวอร์ Denver II
สร้างโดย ดร.วิลเลียม เค แฟรงเคนเบอร์ก (Dr. William K Frankenberg)
สร้างขึ้นมาเพื่อเปรียบเทียบความสามารถทางพัฒนาการเด็กที่อยู่ในวัยเดียวกัน
ใช้ทดสอบพัฒนาการเด็กระหว่างอายุเเรกเกิด - 6 ปี
ขั้นตอนในการทดสอบ
ขีดเส้นเเสดงอายุ
ทดสอบพัฒนาการเด็ก
คำนวณอายุ
ให้คะเเนนข้อทดสอบ
ชี้เเจงเเละสร้างสัมพันธภาพ
แปลผลการทดสอบ
การดำเนินการทดสอบ
เริ่มจากข้อทดสอบง่ายก่อน ไปหายาก
ข้อทดสอบที่ใช้อุปกรณ์เดียวกัน ให้ทดสอบไปด้วยกันให้เสร็จ
เริ่มจากหมวดที่ไม่ยุ่งยากก่อน
ไม่นำสิ่งที่ไม่ใช่อุปกณณ์การทดสอบวางไว้บนโต๊ะ
ยืดหยุ่นได้ตามความพร้อมของเด็ก
ทารกที่ต้องทดสอบด้วยการให้นอน ควรทำให้เสร็จสิ้นไปด้วยกัน
เรื่มทดสอบไปด้วยกันจากด้านซ้ายของเส้นอายุก่อน จึงค่อยทดสอบขากขวาของเส้นอายุ
ใหเด็กทำข้อทดสอบละ 3 ครั้ง
เครื่องมือในการทดสอบ
แบบทดสอบ
หนังสือคู่มือการทดสอบ
อุปกรณ์การทดสอบ