Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดสุขภาพชุมชน, ชื่อ นางสาวกัญฑิภา สุ่มมาตย์ เลขที่ 4 รหัส 600842004…
การจัดสุขภาพชุมชน
แนวคิดหลักการเกี่ยวกับการจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม
การสนับสนุนให้ “ประชาชนพึ่งตนเอง”
การพัฒนาสุขภาพจึงมีหลักในการทำงาน ดังนี้
3.ประสานงาน
การพัฒนาสุขภาพจะประสบผลสำเร็จก็เมื่อมีการประสานงานจากทุกๆ ฝ่าย
4.การนำทรัพยากรในท้องถิ่นมาใช้
กิจกรรมหรือเครื่องมือที่จะนำมาใช้ในการพัฒนาสุขภาพ
2.ประชาธิปไตย
การดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพ จะต้องมาจากมติความเห็นชอบของชุมชน
5.การเปลี่ยนแปลงควรเริ่มจากสิ่งที่ง่าย
การพัฒนาสุขภาพเพื่อเปลี่ยนแปลงภาวะสุขภาพในชุมชน
1.ประชาชน
เจ้าหน้าที่สาธารณสุขจะต้องยึดเป็นแนวทางในการพัฒนา โดยใช้หลักการ ดังนี้
1.5 กิจกรรมควรเป็นความคิดริเริ่มของประชาชน
1.4 สนับสนุนให้ประชาชนช่วยเหลือตนเอง
1.3 ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการทำงาน
1.2 ยึดประชาชนเป็นหลัก
1.1 มุ่งทำงานกับประชาชน
วัตถุประสงค์การจัดการสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม
ปรับปรุงและส่งเสริมให้ชุมชนมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น
ส่งเสริมการทำงานเป็นกลุ่ม
สนับสนุนและส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการทำงาน
ส่งเสริมความสามัคคีในหมู่คณะ
ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อส่วนรวม
ส่งเสริมให้ชุมชนมีฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษาที่ดีขึ้น
องค์ประกอบของชุมชน
5.ความสัมพันธ์ (Relationship)
4.การปฏิบัติต่อกัน (Interaction)
3.อาณาบริเวณ (Area)
2.ความสนใจร่วมกันของคน (Common interest) เช่น เครือข่าย กลุ่มสถาบัน
1.คน (People)
การพัฒนาคุณภาพชีวิต
คุณภาพชีวิต (Quality of Life = QOL)
หมายถึง การดำรงชีวิตของมนุษย์ในระดับที่เหมาะสม ตามความจำเป็นพื้นฐานในสังคมหนึ่ง ๆ ในช่วงเวลาหนึ่ง ประชาชนมีหน้าที่พัฒนาตนเองและครอบครัวให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
เป้าหมายหลักในการ “พัฒนาคุณภาพชีวิต” คือการให้ประชาชนมีความสามารถในการ “พึ่งพาตนเอง”
แนวทางในการพัฒนา
2. พัฒนาทางอารมณ์
เพื่อมุ่งให้อารมณ์มีความสนุกสนานร่าเริง ไม่มีความเครียด
3.พัฒนาทางสังคม
เพื่อมุ่งให้เป็นคนที่มีเกียรติได้รับการยกย่อง
1. พัฒนากาย
เพื่อมุ่งให้ร่างกายมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์
4.พัฒนาทางความคิด
เพื่อมุ่งให้เป็นคนที่มีความต้องการที่จะรู้และเข้าใจในสิ่งต่างๆ
5.พัฒนาทางจิตใจ
เพื่อมุ่งให้เป็นคนที่มีคุณค่า
6.พัฒนาทางปัญญา
เพื่อมุ่งให้เป็นคนมีความเฉลียวฉลาด สามารถคิดพิจารณาเรื่องต่างๆ ได้อย่างมีเหตุผล
7.พัฒนาทางวินัย
เพื่อมุ่งให้เป็นคนมีระเบียบวินัยในตนเอง
คุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทยตามเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ตามเครื่องชี้วัดความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) มี 6 หมวด 42 ตัวชี้วัด
การสร้างการมีส่วนร่วมและเสริมพลังอำนาจชุมชน
การมีส่วนร่วม
คือ การเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกภาคส่วนร่วมมือกันการตัดสินใจ การดำเนินกิจกรรม การติดตามตรวจสอบ และการประเมินผลร่วมกันเป็นไปอย่างมีอิสรภาพ เสมอภาคนำผลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไขพัฒนางาน
การสร้างเสริมพลัง
คือ การกระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักในศักยภาพที่ตนมี และดึงศักยภาพนั้นออกมาใช้อย่างเต็มที่ เพื่อปรับปรุงพัฒนาวิถีชีวิต วิถีการทำงาน ให้บรรลุผลสำเร็จ
การเสริมพลังสร้างสุขภาพ
(Health Empowerment)*
หมายถึง กระบวนวิธีที่จะให้กลุ่มเป้าหมาย สามารถดึงศักยภาพที่มีอยู่ภายในตน มาใช้ในการดูแลและสร้างเสริมสุขภาพของตนได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
สุขภาพองค์รวม
มีหัวใจของแนวทาง
"สร้าง" นำ "ซ่อม"
"พลังเอราวัณ 3 ประสาน" พลังสู่ความสำเร็จ
3. พลังทำ (ปฏิบัติ) (hand)
ลงมือปฏิบัติ ทดลองฝึกฝน สร้างวินัย ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข พัฒนาสร้างสรรค์
2. พลังสมอง (head)
มีความรู้ความเข้าใจให้เกิดความรู้ ความคิดมุมมอง การวิเคราะห์เชื่อมโยง การเห็นภาพรวม
1. พลังใจ (heart)
สร้างจิตใจให้มีความพร้อม ให้สนใจ เห็นคุณค่ารักที่จะทำ ให้มุ่งมั่นที่จะไปให้ถึงจุดหมาย
การสร้างและพัฒนาเครือข่ายชุมชน
องค์ประกอบและความสำคัญของเครือข่ายชุมชน
กิจกรรมของเครือข่าย
ระบบการสื่อสาร
แกนนำเครือข่าย
สมาชิกเครือข่าย
กระบวนการจัดทำแผนแม่บทชุมชน
สิ่งที่ต้องไม่ละเลย และเป็นกรอบของการจัดทำโครงการ / กิจกรรมของชุมชน ก็คือ การพึ่งพาตนเอง
พัฒนาสู่โครงการ / กิจกรรม เมื่อได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยชุมชนแล้ว ก็จะนำเอาข้อมูลที่ได้มาพัฒนาสู่โครงการหรือกิจกรรม
การวิเคราะห์จัดทำแผนแม่บทชุมชน
ประมวลความเชื่อมโยงปัญหา วิธีแก้ปัญหา การบริหารจัดการ
นำความคิดสู่ชุมชน จัดเวทีแลกเปลี่ยน
รวบรวมจัดหมวดหมู่ลำดับความสำคัญ
กระบวนการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเวทีแลกเปลี่ยน
การสร้างการมีส่วนร่วม และการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
แนวคิดการสร้างการมีส่วนร่วม และการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
1.การส่งเสริมกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนเพื่อพัฒนาศักยภาพให้คนในชุมชนรวมกลุ่มกัน ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ และร่วมรักษาผลประโยชน์ของชุมชนด้วยตนเอง
การส่งเสริมกระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อส่งเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ประกอบด้วยกระบวนการส่งเสริมและสนับสนุนชุมชนได้มีการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์เพื่อการพัฒนาอาชีพและเศรษฐกิจชุมชน
เทคนิคการสร้างการมีส่วนร่วม และการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
การวางแผนอย่างมีส่วนร่วม
กระบวนการ AIC
ขั้นตอนการสร้างแนวทางการพัฒนา
Influence = I
แปลว่าอิทธิพล มีอำนาจในการชักชวนซึ่งกันและกันในการคิดสร้างสรรค์เรียกว่าพลังแห่งปัญญานำไปสู่ความสำเร็จ
ขั้นตอนการสร้างแนวทางปฏิบัติ
Control = C
แปลว่าการควบคุม ให้เกิดการปฏิบัติการไปตามวิถีทางหรือแบบที่วางไว้ เรียกว่าพลังพัฒนา
ขั้นตอนการสร้างความรู้
Appreciation = A
ความชื่นชอบเป็นเรื่องของความรักความเมตราเห็นคุณค่าเรียกพลังเมตตา
การจัดกระบวนการพัฒนาการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม (PLD)
(Participatory Learning Development)
องค์ประกอบสำคัญของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมมีอยู่ 4 ประการ
2.การสะท้อนความคิดและอภิปราย (Reflex and Discussion)
อาสาสมัคร/แกนนำชุมชนช่วยให้สมาชิกได้มีโอกาสแสดงออก
3. เข้าใจและเกิดความคิดรวบยอด (Understanding and Conceptualization)
สมาชิกเกิดความเข้าใจและนำไปสู่การเกิดความคิดรวบยอด
1. ประสบการณ์ (Experience)*
อาสาสมัคร/แกนนำชุมชนช่วยให้สมาชิกนำประสบการณ์เดิมของตนมาพัฒนา
4. การทดลองหรือ ประยุกต์แนวคิด (Experiment/Application)
สมาชิกเอาการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นใหม่ไปประยุกต์ใช้
วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ
มนุษย์สร้างวัฒนธรรมขึ้นมาเพื่อประโยชน์แห่งการดำรงชีวิตและการสืบทอดเผ่าพันธุ์ เป็นผลรวมของการสั่งสมสิ่งสร้างสรรค์และภูมิธรรมปัญญา ที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมาของสังคมนั้นๆ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ
ความรู้ของชาวบ้านในท้องถิ่น ซึ่งได้มาจากประสบการณ์ ความเฉลียวฉลาดของชาวบ้าน รวมทั้งความรู้ที่สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษ สืบทอดกันมา
การประยุกต์
คือการปรับ หรือการผสมผสานความรู้เก่ากับความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน
ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นความรู้เรื่องการทำมาหากิน เช่นการจับปลา การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การทอผ้า ทอเสื่อ การสานตะกร้า
การฟื้นฟู
คือ การรื้อฟื้นสิ่งที่ดีงามที่หายไป ให้กลับมาเป็นประโยชน์
มีศิลปะ ดนตรี การฟ้อนรำ และการละเล่นต่างๆ การรักษาโรคด้วยวิธีต่างๆ เช่น การใช้ยาสมุนไพร การนวด การออกกำลังกาย การประคบและอบสมุนไพร การบริหารร่างกายด้วยภูมิปัญญาไทย
การอนุรักษ์
คือ การบำรุงรักษาสิ่งที่ดีงามไว้
ชื่อ นางสาวกัญฑิภา สุ่มมาตย์ เลขที่ 4 รหัส 600842004 สบ สสช ปี 4