Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาวะ การดูแลช่วยเหลือมารดาและทารก ในระยะที่ 2, 3 และ 4…
การประเมินภาวะสุขภาวะ
การดูแลช่วยเหลือมารดาและทารก
ในระยะที่ 2, 3 และ 4 ของการคลอด
1. ระยะการคลอด
ระยะที่ 1
ของการคลอด (First stage of labour)
ระยะที่ 2
ของการคลอด (Second stage of labour)
2
การคลอด หรือ ระยะเบ่ง ตั้งแต่เปิดมดลูกเปิดหมดถึงทารกคลอดออกหมดตัว
ระยะที่ 3
ของการคลอด (Third stage of labour)
3
ระยะคลอดรก ตั้งแต่ทารกคลอดเสร็จ ถึงรกและเยื่อหุ้มทารกคลอดครบ ประมาณ 5-10 นาที ไม่เกิน 30 นาที
ระยะที่ 4
ของการคลอด (Fourth stage of labour)
4
ในระยะนี้มักเกิดการตกเลือดหลังคลอดได้บ่อย จึงต้องดูแลอย่างใกล้ชิด
เป็นสองชั่วโมงแรกหลังรกคลอด
2. อาการที่แสดงว่าเข้าสู่ระยะที่ 2 ของการคลอด
เบ่งหรือบ่นว่าอยากเบ่งทุกครั้งที่มดลูกหดรัดตัว
รู้สึกปวดถ่วงบริเวณทวารหนักคล้ายอยากถ่ายอุจจาระ
มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
ฝีเย็บโป่งนูนบางใส
ศีรษะทารกลงต่ำ
ลูกดิ้นน้อยลง
ปากมดลูกบางและขยาย
มีสารคัดหลั่งออกจากช่องคลอดเพิ่มมากชื้น หรือน้ำเดิน
3. การเตรียม ด้านร่างกายและจิตใจเพื่อการคลอด
ด้านร่างกาย
ช่วยเพิ่มความทนทานต่อความเจ็บปวด
โดยการฝึกให้มีการเผชิญกับสิ่งกระตุ้นความรู้สึกปวด เพื่อเตรียมการคลอด
ใช้วิธีการบีบบริเวณกล้ามเนื้อ หรือเอ็น
ด้านจิตใจ
ด้านความรู้
ช่วยลดความกลัวและความวิตกกังวล
ช่วยให้มีความทนทานต่อความเจ็บปวดมากขึ้น
4. การดูแลมารดาในระยะที่ 2 ของการคลอด
เตรียมอุปกรณ์และผู้ทำคลอดล้างมือและอยู่ในชุดปราศจากเชื้อพร้อมทำคลอด
ทำความสะอาดบริเวณ perineum อย่างเป็นระบบด้วย Povidine solution
ปูผ้าปราศจากเชื้อ
สวนปัสสาวะ เพื่อให้แน่ใจกว่าไม่มี full bladder
ตรวจภายในเพื่อประเมิน position และ station ของส่วนนำ และให้ผู้คลอด
เมื่อศีรษะทารกเริ่มเคลื่อนต่ำลงมาและคิดว่าจะคลอดในไม่ช้า ให้ฉีดยาชาระงับความรู้สึก บริเวณที่คิดว่าจะตัดฝีเย็บ
เมื่อศีรษะทารกมีการ Crown คือเห็นส่วนศีรษะโผล่มาที่ปากช่องคลอด เส้นผ่านศูนย์กลางมีขนาดประมาณไข่ไก่ ให้ทำการตัดฝีเย็บ
เมื่อตัดฝีเย็บแล้ว และศีรษะทารกส่วน subocciput มายันใต้ต่อ pubic symphysis แสดงว่าทารกพร้อมจะเกิดการเงยศีรษะ ให้ทำการ save perineum เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ศีรษะทารกเงยขึ้นเร็วเกินไป และป้องกันการฉีกขาดของช่องทางคลอดเพิ่ม
จากนั้นให้ทำการดูดเมือกในจมูกและปากทารกออกจนค่อนข้างเคลียร์
ทำการคลอดไหล่ โดยหมุนศีรษะทารกให้อยู่ในแนว occiput transverse อย่างนุ่มนวล
เมื่อทารกคลอดครบทั้งตัวแล้ว ให้ดูดเมือกในจมูกและปากทารกอีกครั้ง โดยพยายามให้ส่วนศีรษะทารกอยู่ต่ำกว่าส่วนลำตัว เพื่อป้องกันการสำลักสารคัดหลั่งต่างๆในปากและจมูกเข้าไปในปอด
การดูแลทารกในเบื้องต้น
ควรมีการเช็ดตัวทารกให้แห้งและเปลี่ยนผ้าผืนใหม่ เพื่อป้องกันการเกิดอุณหภูมิกายของทารกต่ำ
ใช้ลูกยางแดงดูดเมือกในปากและทารกออกจนหมด แล้วจึงทำการตัดสายสะดือ
ควรมีการสังเกตอาการของมารดาเป็นระยะ ว่ามีความผิดปกติเกิดขึ้นหรือไม่ โดยเฉพาะเลือดที่ออกจากช่องคลอดว่ามีปริมาณมากผิดปกติหรือไม่