Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายสาธารณสุขอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล …
กฎหมายสาธารณสุขอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
และการผดุงครรภ์
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพพยาบาล
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
บุคคลซึ่งได้รับมอบหมาย จะทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้เฉพาะ
เพื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการหรือเงื่อนไขที่ระเบียบนี้กำหนด
ต้องเป็นการปฏิบัติราชการ หรืออยู่ในสถานพยาบาลของทางราชการเท่านั้น :hospital:
บุคคลที่ได้รับมอบหมายตามระเบียบนี้ต้องอยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
พยาบาลผู้ที่ไม่มีใบประกอบวิชาชีพเวชกรรมสามารปฏิบัติหน้าที่ได้ภายใต้ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม :male-doctor::skin-tone-2: :female-doctor::skin-tone-2:
บุคคลที่สามารถทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
พนังงานอนามัย
เจ้าพนักงานสาธารณสุข
ผู้ช่วยพยาบาลและผดุงครรภ์ ผู้ช่วยพยาบาลและจิตเวช :woman-cartwheeling: :two_men_holding_hands:
พนักงานสุขภาพชุมชน
ผู้สำเร็จประกาศนียบัตรสาธารณสุขสาสตร์
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง :female-doctor::skin-tone-2:
ด้านอายุรกรรม ให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้น เพื่อบรรเทาอาการของโรค :pill: :syringe:
การรักษาพยาบาลอื่น
การให้น้ำเกลือในผู้ป่วยท้องเดินอย่างรุนแรง :tropical_drink:
การฉีดเซรุ่มแก้พิษงู :snake:
การสวนปัสสาวะ :sweat_drops:
การสวนล้างกระเพาะปัสสาวะอาหารโดยใช้สายยางในรายที่สงสัยว่ารับประทานสารพิษ :skull_and_crossbones:
ด้านศัลยกรรม
ผ่าฝี
เย็บบาดแผลที่ไม่สาหัส :explode:
ชะล้าง ทำแผล ตกแต่งบาดแผล :droplet:
ผ่าเอาสิ่งแปลกปลอมซึ่งอยู่ในตำแหน่งซึ่งไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะสำคัญของร่างกายออก โดยฉีดยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง :scissors:
ด้านสูตินรีเวชกรรม
ทำคลอดในรายปกติ
ทำการช่วยเหลือขั้นต้นในรายที่มีการคลอดผิดปกติ
ทำการช่วยเหลือในกรณีที่จะมี การทำแท้ง หรือหลังแท้งแล้ว :mother_christmas:
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค รวมถึงการฉีดวัคซีนป้องกันโรค :syringe:
การวางแผนครอบครัว การฉีดยาคุมและจ่ายยาเม็ดคุมกำเนิด :family:
การเจาะโลหิตจากปลายนิ้วหรือหลอดเลือดดำเพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือเพื่อบริจาคเข้าธนาคารเลือด
ด้านปัจจุบันพยาบาล ให้การปฐมพยาบาลเกี่ยวกับการได้รับสารพิษ และสัตว์ มีพิษกัดต่อย การแพ้ยา การแพ้เซรุ่ม :spider:
วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ทำการประกอบวิชาชีพ เวชกรรมได้ และกระทำการด้านการวางแผนครอบครัว ใส่และถอดห่วงอนามัยได้
ได้ทดสอบผู้ขอรับการใส่ห่วงอนามัยแล้วว่าไม่ตั้งครรภ์
ผู้ขอรับการใส่ห่วงอนามัยได้คลอดบุตรมาแล้ว 45-60 วัน และยังไม่มีประจำเดือน
ผู้ขอรับการใส่ห่วงอนามัยได้คลอดหรือแท้งลูกมาแล้ว 30 วัน และยังไม่มีประจำเดือน
หลักสูตรที่เกี่ยวกับการผ่าตัดทำหมันหญิงหลังคลอด หรือหลักสูตรที่เกี่ยวกับการใส่และถอดยาฝังคุมกำเนิด ซึ่งผ่านการอบรมของกระทรวงสาธารณสุขแล้ว ทำการผ่าตัดทำหมันหญิงหลังคลอดหรือใส่และถอดยาฝังคุมกำเนิดได้ แล้วแต่กรณี
ที่ได้รับประกาศนียบัตรการศึกษาหรือการอบรมในหลักสูตรวิสัญญีพยาบาลจากกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร หรือสถาบันการศึกษาของรัฐบาล ทำการให้ยาสลบเฉพาะการให้สลบชนิด gerneral anesthesia
บุคคลซึ่งได้ผ่านการอบรมตามหลักสูตรการผดุงครรภ์โบราณของกระทรวงสาธารณสุข ทำการรับฝากครรภ์และทำคลอดในรายปกติได้ :baby:
การใช้ยาตามบัญชียา ให้บุคคลที่ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ใช้ยาตามบัญชียาที่หน่วยราชการของกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น หรือสภากาชาดไทยกำหนด ทั้งนี้ต้องไม่เกินรายการบัญชียาสามัญประจำบ้าน ตามกฎหมายว่าด้วยยา รายการยาสถานีอนามัย
อสม. :house_with_garden:
ผ่านการอบรม ได้รับหนังสือรับรองความรู้ความสามารถจากกระทรวงสาธารณสุข
และกระทรวงสาธารณสุขยังแต่งตั้งให้เป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านอยู่ ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมและใช้ยาได้
การประกอบวิชาชีพเวชกรรม
การรักษาพยาบาลเบื้องต้น ตามวิธีการที่กำหนดไว้ในแบบเรียนด้วยตนเองของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อบรรเทาอาการหรือโรค :hospital:
ให้การปฐมพยาบาลเกี่ยวกับบากแผลสด กระดูกหัก ข้อเคลื่อน ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก เป็นลม ชัก จมน้ำ งูกัด สุนัขกัด หรือสัตว์อื่นกัด ไฟฟ้าดูดและได้รับสารพิษ :snake:
เจาะโลหิตเพื่อตรวจหาเชื้อไข้จับสั่น การใช้ยา
ยาสามัญประจำบ้านตามกฎหมายว่าด้วยยา :atom_symbol:
ยาที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม สั่งให้จ่ายให้แก่คนไข้เฉพาะราย และเฉพาะคราว
ยาสมุนไพรที่กำหนดในแบบเรียนด้วยตนเองของกระทรวงสาธารณสุขในงานสาธารณสุขมูลฐาน :leaves:
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล
สถานที่รวมตลอดถึงยานพาหนะ ซึ่งจัดไว้เพื่อการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมาย ว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ การประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม กาประกอบวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์
ผู้ป่วย” หมายความว่า ผู้ขอรับบริการในสถานพยาบาล
“ผู้รับอนุญาต” หมายความว่า ผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล
“ผู้ดำเนินการ” หมายความว่า ผู้ได้รับใบอนุญาตให้ดำเนินการสถานพยาบาล
“ผู้ประกอบวิชาชีพ” หมายความว่า ผู้ประกอบโรคศิลปะ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมการพยาบาล การผดุงครรภ์ ทันตกรรม เภสัชกรรม หรือผู้ประกอบวิชาชีพ
สถานพยาบาล
สถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน รักษาเฉพาะผู้ป่วยไป-กลับ เช่น คลินิก
สถานพยาบาลประเภทรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน รับตรวจผู้ป่วยไป-กลับ และค้างคืน เช่น โรงพยาบาล
การขออนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
คุณสมบัติของสถานพยาบาลและผู้ประกอบการ
มีอายุไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์
มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
ไม่เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษา หรือคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่ เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ
ไม่เป็นโรคที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต คนไร้ความสามารถ หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ
เป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม
.ต้องไม่เป็นผู้ดำเนินการสถานพยาบาลอยู่ก่อนแล้วสองแห่ง ถ้าเป็นผู้ดำเนินการสถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนแห่งหนึ่งแล้ว จะเป็นผู้ดำเนินการสถานพยาบาลที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนเพิ่มขึ้นอีกแห่งหนึ่งไม่ได้ แต่จะขออนุญาตเป็นผู้ดำเนินการสถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนเพิ่มขึ้นอีกแห่งหนึ่งได้
ต้องเป็นผู้ที่สามารถควบคุมดูแลกิจการสถานพยาบาลได้โดยใกล้ชิด
หน้าที่ของผู้รับอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
ต้องแสดงใบอนุญาตของตนไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่าย
รายละเอียดที่ต้องเปิดเผยให้เห็น
ชื่อสถานพยาบาล
รายการเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม การพยาบาล การผดุงครรภ์ ทันตกรรม เภสัชกรรมหรือผู้ประกอบโรคศิลปะ ซึ่งประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลนั้น
อัตราค่ารักษาพยาบาลและค่าบริการ
สิทธิของผู้ป่วย
การย้ายสถานพยาบาลไปประกอบกิจการที่อื่นต้องดำเนินการเช่นเดียวกันกับการขออนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาลใหม่
ถ้าประสงค์จะเลิกกิจการสถานพยาบาล ต้องแจ้งเป็นหนังสือและจัดทำรายงานที่จะปฏิบัติเกี่ยวกับผู้ป่วยให้ผู้อนุญาตทราบล่วงหน้าอย่างน้อย
สิบห้า
วัน
ต้องปฏิบัติตามคำสั่งของผู้อนุญาตที่ให้ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งในการเลิกกิจการ
ถ้าพ้นจากหน้าที่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เกินเจ็ดวัน ผู้รับอนุญาตอาจมอบหมายให้บุคคลซึ่งมีคุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาตทราบภายในสามวัน นับแต่วันที่เข้าดำเนินการแทน
ถ้ามีการเปลี่ยนตัวผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลต้องแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้รับอนุญาตทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีการเปลี่ยนนั้น
ต้องไม่เรียกเก็บเงินหรือยินยอมให้มีการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาล หรือค่าบริการอื่นเกินอัตราที่ได้แสดงไว้ และต้องให้การบริการแก่ผู้ป่วยตามสิทธิที่แสดงไว้
อายุใบอนุญาต
ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลมีอายุจนถึงสิ้นปีปฏิทินของปีที่สิบนับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต การขอต่ออายุใบอนุญาตต้องยื่นคำขอก่อนใบอนุญาตสิ้นอายุ
หน้าที่ของผู้ดำเนินการสถานพยาบาล
ต้องควบคุมดูแลมิให้ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลที่ตนได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ดำเนินการ ประกอบวิชาชีพผิดสาขา ชั้น หรือแผนตามที่ได้รับอนุญาต
ต้องควบคุมดูแลมิให้มีการรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนเกินจำนวนเตียงตามที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต
ต้องควบคุมดูแลให้ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล
ต้องควบคุมดูแลสถานพยาบาลให้สะอาดเรียบร้อย ปลอดภัย และมีลักษณะ อันเหมาะสมแก่การใช้เป็นสถานพยาบาล
โทษ พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541
การปิดสถานพยาบาลชั่วคราว
ผู้รับอนุญาตไม่ชำระค่าธรรมเนียมการประกอบกิจการสถานพยาบาลตามเวลาที่กำหนด
ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการกระทำการหรือละเว้นกระทำการจนเป็นเหตุให้ผู้อยู่ในสถานพยาบาลหรือผู้ที่อยู่ใกล้เคียงกับสถานพยาบาลเดือดร้อนหรือเกิดอันตราย
สถานพยาบาลไม่แก้ไขปรับปรุงการประกอบกิจการ เครื่องมือ เครื่องใช้ ยาและเวชภัณฑ์ตามที่ผู้อนุญาตมีคำสั่งภายในระยะเวลาที่กำหนด
ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติ และพนักงานเจ้าหน้าที่ได้สั่งให้ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการแล้วแต่กรณี
โทษทางอาญา
ไม่แสดงใบอนุญาตไว้ในที่เปิดเผย ไม่มีชื่อสถานพยาบาล ไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่แจ้งอัตราค่ารักษาพยาบาลและไม่แจ้งสิทธิผู้ป่วย
ไม่จัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพ เครื่องมือ เครื่องใช้ ยาเวชภัณฑ์ ไม่จัดทำรายงานการรักษาพยาบาล ไม่ควบคุมและดูแลสถานพยาบาลให้เป็นไปตามกฎกระทรวง
ไม่ช่วยเหลือผู้ป่วยในภาวะอันตรายและไม่ช่วยเหลือ เพื่อส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลที่มีความเหมาะสมตามความจำเป็นหรือความต้องการของผู้ป่วย
โฆษณาสถานพยาบาลอันเป็นเท็จหรือโอ้อวดเกินความจริง ก่อให้เกิดความเข้าใจผิด
จัดทำหลักฐานค่ารักษาพยาบาลหรือเอกสารแสดงผลการรักษาพยาบาลอันเป็นเท็จ
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ กับ พระราชบัญญัติสถานพยาบาล
ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการสถานพยาบาลในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิโดยคำแนะนำของสภาการพยาบาล
ผู้รับอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล
ผู้รับอนุญาตประกอบกิจการและผู้ดำเนินการสถานพยาบาลประเภทต่างๆ
คลินิกการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ให้บริการด้านการพยาบาล การดูแลมารดาและทารกก่อนคลอดและหลังคลอด ยกเว้นการทำคลอด
การส่งเสริมสุขภาพและการอนามัยแม่และเด็ก โดยสามารถรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนไม่เกิน 30 เตียง
สถานพยาบาลผู้ป่วยเรื้อรัง ให้บริการผู้ป่วยเรื้อรังโดยวิธีการทางการพยาบาล ซึ่งหน้าที่ของผู้ประกอบวิชาชีพตามบทบาทหน้าที่
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ ปี 25523
โรคติดต่อโรคติดต่อต้อแจ้งความ20โรค
ในกรณีที่มีการเจ็บป่วยหรือมีเหตุสงสัยว่าได้มีการป่วยโดยโรคติดต่อดังกล่าวเกิดขึ้นในบ้าน ให้เป็นหน้าที่ของเจ้าบ้าน หรือของผู้คุมดูแลบ้าน หรือของแพทย์ผู้ทำการรักษาพยาบาล
กรณีที่มีโรคติดต่ออันตราย แจ้งเจ้าพนักงานสาธารณสุขหรือพนักงานเจ้าหน้าที่
การแจ้งความ
เจ้าบ้านหรือผู้ควบคุมดูแลบ้าน
แพทย์ผู้ทำการรักษาพยาบาล หรือผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาล
ผู้ทำการชันสูตรทางแพทย์หรือผู้รับผิดชอบในสถานที่ที่ได้มีการชันสูตรทางแพทย์
ผู้รับแจ้งความโรคติดต่อ
ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัยกรุงเทพมหานคร (กทม.)
หัวหน้าฝ่ายสาธารณสุขเมืองพัทยา
ผู้ว่าราชการจังหวัด
นายอำเภอ
นายกเทศมนตรี หัวหน้าฝ่ายสาธารณสุข ประธานกรรมการสุขาภิบาล และหัวหน้าฝ่ายสาธารณสุขสุขาภิบาล
กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน
กฎเกณฑ์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
กำหนดให้ช่องทางและด่านตรวจคนเข้าเมือง
รัฐมนตรีหรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีมอบหมายมีอำนาจประกาศให้ท้องที่หรือเมืองท่าในต่างประเทศนั้นๆเป็นเขตติดโรค
ค่าใช้จ่ายต่างๆที่ต้องปฏิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงานสาธารณสุขในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ
โทษ ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ
บุคคลใดไม่แจ้งต่อเจ้าพนักงานสาธารณสุข เมื่อมีโรคติดต่ออันตราย
ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามประกาศ หรือคำสั่งของเจ้าพนักงานสาธารณสุข
ไม่จอดยานพาหนะ ณ สถานที่ที่กำหนดให้จนกว่าเจ้าพนักงานสาธารณสุขจะอนุญาตให้ไปได้
บทบาทผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลและการผดุงครรภ์
ผู้แจ้งความโรคติดต่อ เมื่อพบหรือสงสัยว่าผู้ป่วยหรือผู้มาขอรับบริการสาธารณสุขป่วยด้วยโรคติดต่ออันตราย ภายใน 24 ชม.
ควบคุมการแพร่ระบาดของโรค การแยกผู้ป่วย การเฝ้าดูอาการเมื่อมีเหตุสงสัยว่าอาจเป็นโรคติดต่อ การเคร่งครัดต่อมาตรฐานความปลอดภัยจะช่วยป้องกันกาแพร่ระบาดของโรคติดต่อ
พระราชบัญัติโรคติดต่อ 2558
คําแนะนํา ของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนด
ชื่อและอาการสําคัญของโรคติดต่ออันตรายและโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง
ช่องทางเข้าออกแห่งใดในราชอาณาจักรให้เป็นด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
อํานาจหน้าที่เจ้าพนักงาน ควบคุมโรคติดต่อประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะแจ้งกําหนดวัน เวลา และสถานที่ที่พาหนะนั้น ๆ จะเข้ามาถึงด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศต่อเจ้าพนักงาน
ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะที่เข้ามาในราชอาณาจักรยื่นเอกสารต่อเจ้าพนักงาน
ห้ามผู้ใดเข้าไปในหรือออกจากพาหนะที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยังไม่ได้รับการตรวจ จากเจ้าพนักงาน
ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะแก้ไขการสุขาภิบาลของพาหนะให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งกําจัด สิ่งอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพในพาหนะ
ห้ามเจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะนําผู้เดินทางซึ่งไม่ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545
สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา 38
“กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ” มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย สนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ เพื่อเป็นการส่งเสริมให้บุคคลสามารถเข้าถึงการบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและ มีประสิทธิภาพ
รับฝากครรภ์
ยา
อุปกรณ์ทางการแพทย์
ค่าทำคลอด
รถพยาบาล(พาหนะ)
ค่าฟื้นฟูร่างกายและจิตใจ
ค่าสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค
ค่าตรวจวินิจฉัยโรค
มาตรา 6
ยื่นคำขอลงทะเบียนต่อสำนักงานหรือหน่วยงานที่สำนักงานกำหนด เพื่อเลือกหน่วยบริการ เป็นหน่วยบริการประจำ
เจ็บป่วย ฉุกเฉิน เข้าที่ไหนก็ได้
การเปลี่ยนแปลงหน่วยบริการประจำ (ปฐมภูมิ)
มาตรา 5
บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพตามที่กำหนดโดยพระราชบัญญัติ
ผู้ใช้บริการ จ่ายค่าบริการ ให้กับสถานพยาบาลตามที่กำหนด เว้นแต่ ผู้ยากไร้ /บุคคลที่รัฐมนตรีกำหนดโดยไม่ต้องจ่าย
มาตรา 42
ในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วยบริการ โดยหาผู้กระทำผิดได้แต่ยังไม่ได้รับค่าเสียหาย สำนักงานจะจ่ายเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้รับบริการไปแล้ว สำนักงานมีสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่ผู้กระทำผิดได้
มาตรา60
หน่วยบริการ กระทําผิดร้ายแรงหรือเกิดซ้ําหลายครั้ง ให้เลขาธิการรายงานต่อคณะกรรมการควบคุม คุณภาพและมาตรฐานเพื่อพิจารณาดําเนินการ
สั่งเพิกถอนการขึ้นทะเบียนของหน่วยบริการนั้น
แจ้งต่อรัฐมนตรีผู้รักษาการตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลเพื่อพิจารณา ดําเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
แจ้งต่อรัฐมนตรีผู้กํากับดูแลเพื่อให้มีการดําเนินการทางวินัยแก่ผู้บริหารของ หน่วยบริการในกรณีที่เป็นสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ
แจ้งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้มีการสอบสวนและวินิจฉัยชี้ขาดข้อกล่าวหา หรือข้อกล่าวโทษผู้ประกอบวิชาชีพทางด้านสาธารณสุข
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550
สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา ๕ บุคคลมีสิทธิในการดํารงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
มาตรา ๖ สุขภาพของหญิงต้องได้รับการสร้างเสริม และคุ้มครองอย่าง สอดคล้องและเหมาะสม สุขภาพของเด็ก คนพิการ คนสูงอายุ คนด้อยโอกาสในสังคมและ กลุ่มคนต่าง ๆ
มาตรา ๗
ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะนําไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทําให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้น แต่การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคล นั้นโดยตรง หรือ มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย
กรณีที่เกิดความเสียหายหรืออันตรายแก่ผู้รับบริการเพราะเหตุ ที่ผู้รับบริการปกปิด ข้อเท็จจริงที่ หรือแจ้ง ข้อความอันเป็นเท็จ ผู้ให้บริการไม่ต้องรับผิดชอบในความเสียหายหรือ อันตรายนั้น เว้นแต่การประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
ยกเว้น
ผู้รับบริการอยู่ในภาวะที่เสี่ยงอันตรายถึงชีวิตและมีความ จําเป็นต้องให้ความช่วยเหลือเป็นการรีบด่วน
ผู้รับบริการไม่อยู่ในฐานะที่จะรับทราบข้อมูลได้ และไม่อาจ แจ้งให้บุคคลซึ่งเป็นทายาทโดยธรรม ผู้ดูแล รับทราบข้อมูลแทนในขณะนั้นได้
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
ปรัชญาและแนวคิดหลักของระบบสุขภาพ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์และเป้าหมายของระบบสุขภาพ
การจัดให้มีหลักประกันและความคุ้มครองให้เกิดสุขภาพ
การสร้างเสริมสุขภาพ
การป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ
การบริการสาธารณสุขและการควบคุมคุณภาพ
การส่งเสริม สนับสนุน การใช้และการพัฒนาภูมิปัญญา ท้องถิ่นด้านสุขภาพการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและ การแพทย์ทางเลือกอื่น ๆ
การคุ้มครองผู้บริโภค
การสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านสุขภาพ
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ
การผลิตและการพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุข
การเงินการคลังด้านสุขภาพ
นางสาวอภิสรา นำเจริญลาภ รุ่น 36/2 เลขที่ 56 รหัสประจำตัว 612001137
อ้างอิง
Parakan, B. (2020). 5 คำสำคัญ ทางกฎหมายที่พยาบาลต้องรู้ในการประกอบวิชาชีพการพยาบาล. Journal of Health Science Boromarajonani College of Nursing Sunpasitthiprasong, 4(1), 1-18.
ชัชวาล วงค์สารี, อุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์.(2557).กฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง.พิมพ์ครั้งที่ 1.กาญจนบุรี : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.
Saengthong, W., Nimwatanakul, S., Jeamamornrat, R., & Howharn, C. (2020). Important Laws for Nursing Students’ Supervisors. Journal of Nursing and Education, 13(1), 1-13.
วรัฐกานต์ อัศวพรวิพุธ. (2016). มาตรฐาน การพยาบาล: กระบวนการพยาบาล และ จริยธรรม วิชาชีพ. Public Health Policy and Laws Journal, 2(3), 393-4
Janthamungkhun, J., Rachabootr, N., Tangpant, C., & Trakunkarn, K. S. K. การพัฒนาแบบวัดสมรรถนะ ด้านจริยธรรม จรรยาบรรณ และ กฎหมายวิชาชีพสำหรับนักศึกษาพยาบาล Development of a Morality, Ethics and Nursing Laws Competency Test for Nursing Students.
Jormsri, P., Kunaviktikul, W., Ketefian, S., & Chaowalit, A. (2005). Moral competence in nursing practice. Nursing Ethics, 12(6), 582-594.
de Casterlé, B. D., Janssen, P. J., & Grypdonck, M. (1996). The relationship between education and ethical behavior of nursing students. Western Journal of Nursing Research, 18(3), 330-350.