Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาสำหรับพยาบาล (Pathophysiology for Nurses) - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาสำหรับพยาบาล (Pathophysiology for Nurses)
คำอธิบายรายวิชา
แนวคิดและหลักการของการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย กลไกปฏิกิริยาตอบโต้และการปรับตัวของเซลล์และเนื้อเยื่อต่อสิ่งกระตุ้นที่ผิดปกติ การตายของเซลล์ สาเหตุและปัจจัยการเกิดโรค พยาธิกาเนิด เช่น ความผิดปกติทางพันธุกรรม ความพิการแต่กาเนิด สภาพแวดล้อม การติดเชื้อ การแบ่งตัวที่ผิดปกติของเซลล์
HomeostasisControl System
ระบบควบคุมสมดุลภายในร่างกาย
ประกอบได้ด้วย 3 ส่วน
ตัวรับรู้(Detector or sensor)
รับรู้การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายนอกหรือภายในร่างกายที่แตกต่างไปจากภาวะปกติการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจึงถือว่าเป็นตัวกระตุ้น(stimulus)
หน่วยตอบสนอง(Effector)
พยายามทำให้ดุลในร่างกายที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นกลับคืนมาใกล้เคียงกับภาวะเดิมก่อนการเปลี่ยนแปลงให้มากที่สุด หรือเรียกว่าปรับให้ร่างกายกลับมาอยู่ในภาวะคงที่ (steady state)
ศูนย์ประสานงานส่วนกลาง(Integrating center)
รับสัญญาณจากตัวรับรู้หลายแห่งได้พร้อมๆกัน และส่งสัญญาณต่อไปเพื่อติดต่อกับส่วนต่างๆของร่างกาย ซึ่งจะเกิดการเปลี่ยนแปลงการทำงาน
ความหมาย
Pathology
: (pathos -logos = the study of disease) วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับโรคที่ครอบคลุม สาเหตุ กลไกการเกิดโรค การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและหน้าที่
Disease
:พยาธิสภาพหรือสภาพโรค ตัวกระตุ้นที่ทำลายเซลล์เนื้อเยื่อหรืออวัยวะหลายประเภท
Lesion
(บาดแผล) : ความผิดปกติในอวัยวะหรือเนื้อเยื่อ ผลของการบาดเจ็บหรือความเสียหาย อาจส่งผลให้เกิดการด้อยค่าหรือการสูญเสียหน้าที่
Etiology
(สาเหตุของโรค) :สาเหตุของการเกิดโรค สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมหรือได้มา (tubercle bacillus เป็นสาเหตุของวัณโรค)
Pathogenesis
(พยาธิกำเนิด) : กระบวนการหรือชุดของขั้นตอนที่ทำให้เกิดโรค กลไกการเกิดโรค
Symptom
(กลุ่มอาการ) :ข้อบ่งชี้ของโรค สิ่งที่ผู้ป่วยรู้สึกหรือต้องการบอกให้ทราบ
(เช่น ความเจ็บปวดเวียนศีรษะ)
Sign
(สัญญาณ) :ข้อบ่งชี้วัตถุประสงค์หรืออาการของโรค สิ่งที่ผู้สังเกตเห็นหรือสามารถวัดได้ (เช่นความดันโลหิตสูง,ม้ามโต)
Complication
(โรคเเทรกซ้อน) : โรคที่สองหรืออาการผิดปกติที่เกิดขึ้นในระหว่างการเกิดโรคหลัก กล้ามเนื้อหัวใจตายเป็นภาวะแทรกซ้อนหนึ่งของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน
Cause of Death
(สาเหตุการเสียชีวิต) : ชื่อของโรคความผิดปกติการบาดเจ็บหรือพิษที่นำไปสู่ความตายทั้งทางตรงและทางอ้อม
Diagnosis
(การวินิฉัยโรค) :การกระทำหรือกระบวนการตัดสินใจลักษณะของโรค โดยการตรวจสอบอาการและสัญญาณอย่างระมัดระวัง นอกจากนี้การตัดสินใจหรือความเห็นจากการตรวจสอบนั้นๆ
การวินิฉัย MI
ประกอบด้วยหลักเกณฑ์อย่างน้อย 2ข้อ จาก 3ข้อ ดังนี้
การเพิ่มของเอ็นไซม์จากกล้ามเนื้อ
การเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
อาการเจ็บหัวใจอย่างน้อย 30นาที
Differential Diagnosis
(การวินิจฉัยแยกโรค)
Prognosis
(การทำนาย)
การคาดการณ์การคาดการณ์เส้นทางที่เป็นไปได้ของโรคและโอกาสในการฟื้นตัว
พยาธิวิทยา
กลไกไการเกิดโรค
: การเปลี่ยนในระดับเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ ร่างกาย
อาการ อาการเเสดง ดารดำเนินของโรค การพยากรณ์
สาเหตุ
: ภายใน/ภายนอก
โดยตรง/โดยอ้อม
การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและหน้าที่
: รอยโรค พยาธิสภาพ ความผิดปกติทางหน้าที่
พยาธิวิทยาเฉพาะทาง
1. Autopsy Pathology (การตรวจชันสูตรศพ)
การศึกษาโรคจากศพซึ่งตายในรพ.ถึงความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและหน้าที่อวัยวะของศพกับประวัติบันทึกการเจ็บป่วยร่วมกับผลการตรวจค้นทางห้องปฏิบัติการ ระหว่างที่ผู้ป่วยยังมีชีวิตอยู่ โดยศึกษาย้อนหลังไปตั้งแต่เริ่มเป็นโรค การดาเนินโรค อาการโรค ภาวะแทรกซ้อน จนถึงตาย และสาเหตุการตาย ตลอดจนผลการรักษา
2.Surgical Pathology
เป็นการตัดชิ้นเนื้อผู้ป่วย (biopsy)จากตาแหน่งที่สงสัยเป็นโรคนำมาศึกษา ตรวจสอบในห้องปฏิบัติการ เพื่อการวินิจฉัยโรคในด้านการเปลี่ยนรูปร่างและโครงสร้างและนาผลการวินิจฉัยนี้ให้แจ้งแพทย์ผู้รักษาไปวางแผนการรักษาโรคต่อไป
Excisionalbiopsy
: การตัดชิ้นเนื้อที่สงสัยทั้งชิ้นเพื่อตรวจ
Incisionalbiopsy
: การผ่าตัดเอาชิ้นเนื้อบางส่วนส่งตรวจ
Core biopsy
: การใช้เข็มขนาดใหญ่ตัดชิ้นเนื้อบางส่วนหรือดูดเอาน้ำไปตรวจ
Needle Biopsy
: การใช้เข็มเล็กๆตัดเอาชิ้นเนื้อไปตรวจหรืออาจจะเรียกว่า Fine needle biopsy
3. Cyto-Pathology
การตรวจวินิจฉัยการเปลี่ยนแปลงเซลล์ ที่ปรากฏในของเหลวต่างๆซึ่งนามาจากผู้ป่วยเพื่อนาไปประกอบเป็นร่องรอยการวินิจฉัยโรค
4.Molecular Pathology
การศึกษา โครงสร้างและหน้าที่ของ Gene ในระดับโมเลกุลของโรคใดโรคหนึ่งผิดไปจากGene คนปกติอย่างไร
ประโยชน์ซึ่งได้รับจากการศึกษาพยาธิวิทยา
ใช้วิเคราะห์โรคนำไปสู่คำตอบสำหรับการดูแลผู้ป่วย
-โรค เริ่มต้น(primary disease)
ทราบตำแหน่ง ต้นตอและที่มาของโรค
-สาเหตุโรค การดำเนินโรค พิสูจน์ได้
นำไปสู่การป้องกันคนอื่นต่อไป
-พยาธิสภาพจากการดำเนินโรค
ทำให้ทราบการเปลี่ยนแปลงรูปร่างชิ้นส่วนอวัยวะ นำไปสู่วิธีการแก้ไขชิ้นส่วนที่บกพร่องนั้น กลับมาทำหน้าที่ได้เช่นเดิม
-อนาคตผู้ป่วยรายนี้จะเป็นอย่างไร
ถ้าไม่รักษา,หรือรักษา ผลจะเป็นอย่างไร?เราสามารถนำข้อมูลเหล่านี้มาประมวลผลเข้าด้วยกันใช้ตอบคำถามอนาคตผู้ป่วยนี้ได้
เครื่องมือตรวจสอบการเปลี่ยนแปลง (โรค)ทั้งAnatomicaland Functional changes
ความรู้เรื่องธรรมชาติปกติในร่างกายมนุษย์
-ด้านโครงสร้าง : Anatomy,Histology
-ด้านเจริญเติบโต : Embryology
-ด้านหน้าที่การทำงาน: Physiology,
Biochemistry
Immunology
เครื่องมือตามธรรมชาติของมนุษย์
ประสาทสัมผัสทั้ง 5รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส เช่น การซักประวัติ,การตรวจร่างกาย,คลำ เคาะ ฟัง
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและเทคนิคปฏิบัติการต่าง ๆ
ด้านPhysicเคมีตลอดจนชีววิทยาในทางการแพทย์ เช่น การใช้กล้องจุลทรรศน์ระดับต่าง ๆ การใช้ปฏิกิริยาทางImmuno, x-rays, CTscan,ปฏิกิริยาทางเคมี,การตรวจวิเคราะห์สารต่างๆ,การเพาะเชื้อ