Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก
อาหารคือสิ่งที่นำมาบริโภคได้โดยปราศจากอันตรายแต่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ร่างกายทำให้กระบวนการต่าง ๆ ในร่างกายดำเนินไปอย่างปกติซึ่งเรียกว่าอาหารหลัก 5 หมู่
โภชนาการหมายถึงความสำคัญของอาหารที่มีต่อสุขภาพของร่างกายอาหารชนิดใดมีสารอาหารประเภทใดบ้างมากน้อยเพียงใด-อาหารคือสิ่งที่นำมาบริโภคได้โดยปราศจากอันตรายแต่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ร่างกายทำให้กระบวนการต่าง ๆ ในร่างกายดำเนินไปอย่างปกติซึ่งเรียกว่าอาหารหลัก 5 หมู่-สารอาหารคือส่วนประกอบทางเคมีที่มีอยู่ในอาหารที่บริโภคซึ่งประกอบด้วยโปรตีนคาร์โบไฮเดรทไขมันเกลือแร่วิตามินและน้ำ
โภชนาการหมายถึงความสำคัญของอาหารที่มีต่อสุขภาพของร่างกายอาหารชนิดใดมีสารอาหารประเภทใดบ้างมากน้อยเพียงใด
วัยทารก (0-1 ปี)
ทารกจะมีความต้องการสารอาหารในอัตราสูงกว่าวัยอื่น ๆ
ให้พลังงาน 20 แคลอรี่ / ออนซ์
มีภูมิคุ้มกันโรคหลาย ๆ ชนิดที่หลั่งออกผ่านออกมาทางน้ำนมและยังเป็นการสร้างความอบอุ่นทางด้านจิตใจ
-2 สัปดาห์แรกเกิด: ให้ทุก 2-3 ชั่วโมงหลังจากนั้นทุก 3-4 ชั่วโมงในกลางวันกลางคืนแล้วแต่ความต้องการของทารก
ให้มารดาให้นมบุตรอย่างเดียวจนถึง 6 เดือน
หลักการให้อาหารเสริม
ให้เด็กมีความพร้อม (Readiness) เช่นอ้าปากใช้ลิ้นดุนอาหาร
เริ่มจากอาหารที่เป็นน้ำ-เหลว-อ่อนแข็
เริ่มทีละชนิดครั้งละน้อย
ให้ก่อนมอนมแล้วค่อยเพิ่มจนแทนมีอนม
ไม่บังคับ
วัยเดิน
เด็กอยากกินอาหารน้อยลงสนใจการเล่นสิ่งแวดล้อมรอบตัวมากกว่าทั้ง ๆ ที่ความต้องการพลังงานจากอาหารนั้นยังคงมีสูง
หากพ่อแม่ไม่เข้าใจและวิตกกังวลมากเกินไปเคี่ยวเข็ญลูกให้กินเครียดทั้งแม่ทั้งลูกส่วนตัวเด็กเองก็จะรู้สึกฝืนใจอาจทำให้หงุดหงิดและมีปฏิกิริยาต่อต้านการรับประทานเกิดขึ้นได้
อัตราการเพิ่มน้ำหนักเริ่มลดลง
เวลาที่เด็กไม่สบายจะกินอาหารได้น้อยเช่นเป็นไข้หวัดเด็กก็จะกินข้าวได้น้อยกว่าปกติ แต่หลังจากหายแล้วเขาก็จะสามารถกินได้ตามปกติดังนั้นไม่ควรเป็นกังวลเกินไป
เด็กก่อนวัยเรีย
อัตราการเจริญเติบโตลดลง
โปรตีนเป็นอาหารหลักที่สำคัญสำหรับการเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อโปรตีนที่ต้องการคือ 2-3 กรัม / กก.
ความต้องการอาหารไม่มากนัก
จำเป็นต้องได้รับเหล็กเพิ่มจากการรับประทานอาหารที่มีเหล็กมากขึ้นเช่นไข่แดงตับเนื้อสัตว์ผักใบเขียวเนื่องจากในน้ำนมมารดาและนมวัวมีธาตุเหล็กน้อยนอกจากนี้ต้องดูแลการได้รับแคลเซียมและวิตามินซี
เป็นตัวของตัวเองเคลื่อนไหวร่างกายอย่างอิสระสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัวจึงทำให้สนใจรับประทานอาหารน้อยลง
วัยเรียน
เลือกรับประทานอาหารตามความนิยมของสังคมหรือกลุ่มเพื่อน
จึงเป็นสาเหตุทำให้ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
เด็กมักให้ความสนใจกับขนมอาหารว่างหรืออาหารสำเร็จรูป
ควรสอนให้เด็กรู้จักเลือกอาหารที่มีคุณค่า
อัตราการเจริญเติบโตสม่ำเสมอ
วัยรุ่น
มีอิสระในการเลือกรับประทานอาหาร
เลือกรับประทานอาหารตามกลุ่มเพื่อนเช่นอาหารฟาสฟูดส์
วัยรุ่นชายต้องการพลังงานสูงกว่าเด็กหญิงขึ้นอยู่กับกิจกรรมที่ทำ
ควรฝึกนิสัยการรับประทานอาหารตั้งแต่วัยเด็กเพื่อช่วยในการตัดสินใจเลือกรับประทานอาหารได้ดีขึ้น
ต้องการพลังงานมากกว่า 2, 000 แคลอรี่ต่อวัน
สารอาหารที่จำเป็น ได้แก่ ธาตุเหล็กสังกะสีวิตามิน A, C, D, B6, และกรดโฟลิคต้องการแคลเซียมสูงมากเพื่อใช้ในการเสริมสร้างกระดูก
ปัญหาโภชนาการในเด็ก
ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน (Obesity)
•พบอุบัติการณ์ของโรคอ้วนในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้นในขณะที่โรคขาดสารอาหารพบได้น้อยลง
•ค่านิยมของครอบครัวที่มักจะเลี้ยงดูให้เด็กดูจำมา
•มีความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังเช่นเบาหวานความดันโลหิตสูงโรคหัวใจไขมันในเลือดสูงโรคข้อโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจปัญหาทางด้านจิตใจ
น้ำหนักตัวต่ำกว่ามาตรฐาน (Underweight)
•เด็กที่ผอมกว่าปกติอาจมีสาเหตุจากเป็นโรคเรื้อรัง
•ได้รับอาหารไม่พอหรือไม่อยากอาหาร
•ในเด็กหญิงโดยเฉพาะในช่วงอายุ 9-17 ปีอาจจะอดอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
โรคขาดโปรตีนและพลังงาน PCM: Protein Caloric Malnutrition หรือ PEM: Protein Energy Malnutrition
Kwashionkor
พบมาก> 1ปี
ผมแดงแห้งกรอบขาดง่าย
วหนัง: Dermatitis (fraky paint หรือ Cracy Pavenment Dermatitis: เป็นขุยกระด่างกระดำหรือคล้าย burn
ตับโต
ตัวโตช้า / ไม่โตภูมิต้านทานต่ำผ
จิตใจ: ซึมเศร้าไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
Edema: ไม่รุแรงบวมเฉพาะที่มากบวมทั่วตัว
Marasmus
ขาดพลังงาน<1ป
เจริญเติบโตช้า
ผอมแห้งดึงอมิโนจากกล้ามเนื้อไปใช้อ่อนแรงเหมือนคนแก่
รักษาตามอาการ
ให้อาหารเพิ่มปริมาณทีละน้อย
ให้พลังงาน 100 cal / kg / d จากนั้นเพิ่มเป็น 150 cal / kg / d ในสัปดาห์ที่ 3-4
โปรตีน 1-2 gm / kg / d จากนั้นเพิ่มเป็น 3-4 gm / kg / d ในสัปดาห์ที่ 3-4
เพิ่มน้ำมันพืช
ในอาหาร 5 ml/มือ
ในนม 1-2 ml/มื่อ
ป้องกันการติดเชื้อเพิ่มขึ้น
วิตามินรวมวิตามิน A วิตามิน K
โรคโลหิตจางจากการขาดเหล็ก (Iron Deficiency)
เป็นภาวะที่ความเข็มข้นของ Hb Hctหรือ RBC มีปริมาณน้อยกว่าปกติ
ได้รับเหล็กไม่เพียงพอ
พบมากถึงร้อยละ 20 ของประชากรโลกโดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลียเหนื่อยง่ายมากขึ้นเวลาออกแรงหรือหากเป็นมากอาจมีอาการเหนื่อยเวลาอยู่เฉยๆมีอาการเวียนศีรษะหมดสติใจสั่นหัวใจล้มเหลวติดเชื้อง่ายภูมิต้านทานต่ำ
ติดเชื้อง่ายภูมิต้านทานต่ำ
อาหารเสริมธาตุเหล็ก
-เนื้อสัตว์
-ตับ
-ไข่
-นม
-ผักใบเขียว
อาหารที่ขัดขวางการดูดซึมธาตุเหล็ก
-ชากาแฟ
-วิธีที่จะช่วยให้ร่างกายดูดซึมธาตุเหล็กได้ดีคือหลังมื้ออาหารให้กินผลไม้ที่มีวิตามินซีเช่นส้มหนึ่งผล
Vitamin A Deficiency (Retinol)
อาการ
Told skin (ผิวหนังย่น / ผิวหนังคางคก)
Bilot spot (ตาดำขุ่น)
Night Blindness
Xeropthalmia (ตาขาวอักเสบรุนแรง)
การดูแลรักษา
รักษาทางโภชนาการ (nutrition management)
การรักษาด้านจิตใจการป้องกัน
โรคแทรกซ้อน
ับประทานอาหารที่มีวิตามินเอสูงเช่นผักสีต่างๆไข่เนื้อนม
Vitamin B1 (Thiamin) Deficiency
เหน็บชา (Beri-Beri)
กินไม่พอ
กินอาหารที่ขัดขวางการดูดซึม Vit. B1
Dry BeiBeri: ปลายประสาทอักเสบที่เท้าและขา (ส่วนมาก) มือรุนแรงจะมือห้อยเท้าห้อยเดินไม่ถนัดกล้ามเนื้อลีบเจ็บปวดมาก
Wet BertBef: มีอาการทางหัวใจหายใจไม่สะดวกอ่อนเพลียไม่มีแรงบวมตามเท้าแขนขาหรือทั่วตัวหัวใจโต
infantile BeriBeri: มักพบ 2-6 เดือนซึ่งกินนมแม่เด็กจะซึมไม่ดูดนมกระสับกระส่ายท้องอืดอาเจียนอาจบวมน้ำคั่งในปอดตับหัวใจ
การป้องกันและรักษาพยาบาล
-กินอาหารที่มี B1 สูง; ยีสต์น้ำมันตับปลามีมากในธัญพืชข้าวกล้องและข้าวที่ยังไม่ถูกขัดสีตับและเนื้อของวัวหรือหมูปลาไข่นมเต้าหูหรือถั่วหมักถั่วต่างๆรำข้าวข้าวซ้อมมืองากระเทียม
-รุนแรงอาจให้กิน B1 เม็ดหรือฉีดเข้ากล้ามหรือเข้าเส้นเลือดดำหรือผสมในนมที่กินกรณีทารก
Vitamins B2 Deficiency (Riboflavin)
-Angular stomatitis (ปากนกกระจอก)
-ลิ้นอักเสบ (Glossitis)
-Scrotal dermatitis
การป้องกันและรักษาพยาบาล
กินอาหารที่มี B 2: เนื้อสัตว์เครื่องในตับหัวใจนมผักสดและผักที่กำลังแตกยอดไข่แดงไข่ปลาเนยแข็งผักใบเขียวหรือกิน B2 ให้ได้วันละ 0. 6 mg / แรงงานที่ใช้ 1, 000 cal
Vitamin C Deficiency (Ascorbic acid)-Scurvy (ลักปิดลักเปิด)
เหงือกบวมฟันหลวมเส้นเลือดฝอยเปราะเลือดออกตามไรฟัน
ป่วยบ่อยภูมิต้านทานต่ำ
อ่อนเพลียซึมเบื่อหน่ายเชื่องช้าน้ำหนักลดไม่อยากอาหาร
Scurvy (ลักปิดลักเปิด)
การป้องกันและรักษาพยาบาล
กินอาหารที่มีสูง; ส้มมะนาวมะเขือเทศฝรั่งมะขามป้อมมะรุมผักโขมสวนมะขามเทศบลอคโคลี่เป็นมาก: vit c 300-500 mg / day