Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค - Coggle Diagram
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การสร้างภูมิคุ้มกันโรค (Immunization )
1.ทางตรง เป็นการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นเองโดยการให้แอนติเจน หรือการให้วัคซีนเข้าไปในร่างกาย เพื่อให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันโรค (antibody) ขึ้นภายหลังซึ่งสามารถป้องกันโรคได้เป็นปีๆ หรือตลอดไป
2.ทางอ้อมเป็นสารที่มีภูมิคุ้มกันโรคอยู่แล้ว (antibody) มีผลป้องกันได้ทันทีที่เข้าไปในร่างกายจะอยู่ในระยะสั้นๆ 3-4 สัปดาห์จะใช้ในกรณีฉุกเฉินและเร่งด่วน เช่น ผู้ที่ถูกตะปูตา จะให้tetanus antitoxinเนื่องจากให้ทางตรง ภูมิต้านทานเกิดขึ้นช้า อาจทาให้เกิดโรคก่อน
วัคซีน คือ แอนติเจนที่ผลิตมาจากเชื้อโรคหรือพิษของเชื้อโรคที่ถูกทาให้ ไม่สามารถก่อโรคในคนได้ เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรค วัคซีน แบ่งออกเป็น 3ประเภท
วัคซีนเชื้อตาย(Inactivatedvaccine)ใช้เชื้อโรคทั้งตัวที่ตายแล้ว ทาให้อ่อนฤทธิ์ลงจนไม่สามารถทาให้เกิดโรค
วัคซีนเชื้อเป็น(Liveattenuatedvaccine)เป็นวัคซีนที่ทาจากเชื้อที่มีชีวิตอยู่ ถูกทาให้อ่อนฤทธิ์ลง แต่ยังสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันโรคได้
ท็อกซอยด์(Toxoid) นำพิษของแบคทีเรียมาทาให้หมดฤทธิ์แต่ยังกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้
โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
วัณโรค (Tuberculosis)
ตับอักเสบบี (Hepatitis B)
คอตีบ (Diphtheria)
ไอกรน (Pertussis)
บาดทะยัก (Tetanus)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบฮิบ(Hib)
โปลิโอ (Polio)
โรต้า (Rotavirus)
หัด (Measles)
คางทูม (Mumps)
หัดเยอรมัน (Rubella)
ไข้สมองอักเสบ เจอี (Japanese encephalitis)
มะเร็งปากมดลูกจากเชื้อเอชพีวี(HPV)
วัณโรค (Tuberculosis)
อาการและอาการแสดง ไอเรื้อรังนานเกิน 3 สัปดาห์ ไอมีเสมหะและอาจมีเลือดปนเบื่ออาหาร น้าหนักลด มีไข้ต่าๆตอนบ่าย เหงื่อออกกลางคืน
การติดต่อ : การหายใจรับเชื้อ ละอองฝอยขนาดเล็ก ที่ผู้ป่วย ไอ จาม หรือพูด เข้าร่างกายทาง
สาเหตุจาก : แบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis
วัคซีนบีซีจี(BCG): แบคทีเรียเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์
คอตีบ(Diphtheria)
อาการและอาการแสดง
ระยะแรก: มีอาการคล้ายหวัด มีไข้ต่าๆไอเสียงก้อง พบแผ่น เยื่อสีขาวบริเวณทอนซิลและลิ้นไก่ หายใจลาบาก
รายที่รุนแรง: เกิดการอุดตันของทางเดินหายใจส่วนบนกล้ามเนื้อหัวใจและ ปลายประสาทอักเสบ อาจเสียชีวิตได้
การติดต่อ : รับเชื้อจากละอองเสมหะ น้ามูก น้าลายของผู้ป่วย (Droplets transmission ) จากทางการหายใจ ไอ จามรดกัน ใช้ภาชนะ
สาเหตุจาก เชื้อแบคทีเรีย Corynebacterium diphtheriae
4.ไอกรน(Pertussis)
สาเหตุจาก: เชื้อแบคทีเรีย Bordetella pertussis
การติดต่อ
จากการไอ จามรดกัน โดยตรง (Droplets transmission)
2 จากการรับเชื้อที่อยู่ในละอองเสมหะ น้ามูกน้าลายของผู้ป่วย (Airborne transmission)
อาการและอาการแสดง: 1-2 สัปดาห์แรกมีอาการคล้ายหวัด ต่อมามีไอกรน คือ ไอถี่ๆ
โรคตับอักเสบบี (HepatitisB
อาการและอาการแสดง:
1.แบบเฉียบพลัน อ่อนเพลีย มีไข้ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดใต้ ชายโครงขวา ปัสสาวะสีเข้ม ตาเหลือง ตัวเหลือง
2.แบบเรื้อรัง อาการไม่ชัดเจน มีภาวะตับอักเสบเฉียบพลัน เกิดภาวะตับแข็ง ตัวบวม ท้องบวม ตัวเหลือง ตาเหลือง เลือดออกง่าย มะเร็งตับได้
การติดต่อ
สัมผัสกับเลือด หรือสารคัดหลั่งของผู้ป่วย
มีเพศสัมพันธ์กับคนที่มีเชื้อ
จากมารดาที่เป็นผู้ติดเชื้อ แพร่เชื้อให้ลูกระหว่างคลอด
สาเหตุจาก : เชื้อไวรัส Hepatitis B virus
5.บาดทะยัก(Tetanus)
อาการและอาการแสดง
1.ในทารกแรกเกิด เด็กดูดนม ลาบาก หน้าแบบยิ้มแสยะ ร้องคราง แขน ขาเกร็ง หลังแข็งและแอ่น ร้องเสียงดัง หรือจับต้องตัว และจะมีอาการ ชักกระตุก หยุดหายใจ หน้าเขียว
2.ในเด็กโตหรือผู้ใหญ่ ขากรรไกรแข็ง อ้าปากไม่ได้ คอแข็ง มีอาการหลัง แขน ขา เกร็ง กระตุกหยุดหายใจ และเสียชีวิตได้
การติดต่อ
1.ทารกมักติดเชื้อทาง สายสะดือที่ตัดด้วย กรรไกรหรือที่ไม่สะอาด
2.บุคคลทั่วไป ได้รับเชื้อ บาดทะยักผ่านทาง บาดแผลที่ผิวหนัง เช่น
ถูกของมีคมสกปรกบาด ทาให้เกิดแผลลึก
สาเหตุจาก เชื้อแบคทีเรีย Clostridium tetani
วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน (DTwP HB)
ท็อกซอยด์แบคทีเรียและ ไวรัสเชื้อตาย
เยื่อหุ้มสมองอักเสบฮิบ
(Haemophilus Influenzae Type B)
อาการ: มีอาการ เป็นไข้ หงุดหงิด งอแง ปวดศีรษะ ชัก คอแข็ง กระหม่อมโป่ง ในเด็กเล็กมีอันตรายถึงชีวิตได้
การติดต่อ : เข้าสู่ร่างกายได้จากการสูดดมละอองที่มาจากการไอและจาม หรือสัมผัสกับสารคัดหลั่งของผู้ที่ติดเชื้อหรือเป็นพาหะนาโรค
สาเหตุจาก แบคทีเรียHaemophilus
Influenzae Type B Bเป็นโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดรุนแรง
โปลิโอ (Poliomyelitis)
อาการและอาการแสดง
2.อาการรุนแรง ไข้ เจ็บคอ คอแข็ง ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ
3.อาการรุนแรงมาก มีอัมพาตแขนขา ปวดกล้ามเนื้อ เกร็ง โดยพบที่ขามากกว่าแขน
1.อาการไม่รุนแรง มีไข้ต่าๆเจ็บคอ อาเจียน ปวดท้อง เบื่ออาหาร และอ่อนเพลีย หายเองใน 3-4วัน
การติดต่อ
1.จากการรับเชื้อที่ปนเปื้อนมากับอุจจาระของผู้ป่วยเข้าทางปาก (Fecal oral route)
2 แบบ Oral oral route โดยเชื้อ เพิ่มจานวนในลาคอ หรือ ทางเดินอาหารส่วนบน
สาเหตุจาก: เชื้อไวรัสPoliovirus Type 1 , 2 , 3
8.โรคอุจจาระร่วง จากไวรัสโรต้า (Rotavirus diarrhea)
อาการและอาการแสดง: ส่วนใหญ่พบในเด็กต่ากว่า 5 ปี ท้องเสีย ปวดท้อง ไข้ อาเจียน เกิดภาวะขาดน้า
การติดต่อ: รับเชื้อที่ออกมากับอุจจาระถ่ายทอดไปบุคคลอื่นโดยเข้าทางปาก
สาเหตุจาก : เชื้อไวรัส Rotavirus
หัด (Measles)
อาการและอาการแสดง: มีไข้สูง น้ามูกไหล ไอ ตาแดง ตาแฉะ พบจุดขาวๆ เล็กๆที่เยื่อบุในช่องปาก หรือกระพุ้งแก้มใกล้ฟันกรามล่าง
การติดต่อ : รับเชื้อที่อยู่ในละอองเสมหะ น้ามูกน้าลายของผู้ป่วยผ่านทางการหายใจ
สาเหตุจาก : เชื้อไวรัส Measles virus
คางทูม (Mumps)
อาการและอาการแสดง: มีไข้ ปวดต่อมน้าลายหน้าหู ใต้ขากรรไกรบวมโต มักเป็นข้างใดข้างหนึ่ง มีปวดในหู ขณะเคี้ยว หรือกลืนอาหาร
การติดต่อ
1.หายใจเอาละอองฝอยที่มีเชื้อ และรับเชื้อน้าลายของผู้ป่วยที่ไอ หรือจามออกมา
2 สัมผัสกับน้าลายของ ผู้ป่วย เช่น การใช้ภาชนะร่วมกัน
สาเหตุจาก : เชื้อไวรัส Mumps virus
หัดเยอรมัน
อาการและอาการแสดง: มีไข้ต่าๆมีผื่นสีชมพูจางๆ กระจายห่างๆขึ้นตามใบหน้า และกระจายไปทั่ว ต่อมน้าเหลืองที่หลังหูท้ายทอย และด้านหลังของลาคอโต
การติดต่อ จากละอองเสมหะ น้ามูกน้าลายของผู้ป่วย ผ่านทางการหายใจ จากการไอ จาม
สาเหตุจาก: เชื้อไวรัสRubella virus
วัคซีนหัด-หัดเยอรมัน-คางทูม(MMR)
ไวรัสเชื้อเป็น อ่อนฤทธิ์
12 ไข้สมองอักเสบ เจอี (Japanese encephalitis)
อาการและอาการแสดง มีไข้สูง ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน มีการเปลี่ยนแปลงของ ระดับความรู้สึกตัว ซึม คอแข็ง หลังแข็ง ชักเกร็งชักกระตุก
การติดต่อยุงราคาญรับเชื้อจากหมูที่เป็นแหล่งรังโรค ถูกยุงราคาญที่ติดเชื้อกัด
สาเหตุจาก เชื้อไวรัส Japanese B encephalitis virus
สรุปหลักการให้วัคซีน
1 กรณีผู้จะรับวัคซีนมีไข้สูงให้เลื่อนออกไปก่อน หากเจ็บป่วยเล็กน้อย เช่น เป็นหวัด ไม่มีไข้ สามารถรับวัคซีนได้
2 หากมีการแพ้วัคซีน ส่วนประกอบของวัคซีน ควรหลีกเลี่ยงการฉีดวัคซีนนั้น
3 อธิบายให้ผู้ปกครองทราบทุกครั้ง เกี่ยวกับชนิดของวัคซีน และอาการข้างเคียงหลังรับวัคซีน
4 บันทึกลงในสมุดวัคซีนทุกครั้งที่มีการฉีดวัคซีน และให้ผู้ปกครองเก็บสมุดวัคซีนไว้
5 หญิงตั้งครรภ์ไม่ควรฉีดวัคซีนเชื้อเป็น
6 ผู้หญิงที่ได้รับวัคซีนเชื้อเป็น ให้คุมกาเนิดหลังได้วัคซีน1 เดือน
มะเร็งปากมดลูกจากเชื้อเอชพีวี(HPV)
อาการที่พบ คือ มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด เช่น เลือดออกกะปริบกะปรอย เลือดออกหลังมีเพศสัมพันธ์ มีตกขาว ปนเลือด เป็น
การติดต่อ
มีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่มีเชื้อ HPV
จากแม่สู่ลูกขณะคลอด ทาให้เกิดโรคหูดในเด็กทารก เช่น หูดในกล่องเสียง
สาเหตุจาก เชื้อไวรัส Human papillomavirus: HPV