Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pathophysiology for Nurses - Coggle Diagram
Pathophysiology for Nurses
Homeostasis Control System
ระบบควบคุมสมดุลภายในร่างกาย
ประกอบด้วย
ตัวรับรู้ (detector or sensor)
ตัวรับรู้การเปลี่ยนแปลงปัจจัยภายนอกหรือภายในการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวถือว่าเป็นตัวกระตุ้น (stimulus)จากนั้นตัวรับรู้จะส่งสัญญาณไปยัง ศูนย์ประสานงานส่วนกลาง
ศูนย์ประสานงานส่วนกลาง (integrating center)
จะรับสัญญาณจากตัวรับรู้หลายแห่ง ได้พร้อมๆกัน และส่งสัญญาณต่อไปเพื่อติดต่อกับส่วน ต่างๆของร่างกาย ทำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
effector
ทำให้สมดุลที่เปลี่ยนแปลงไปกลับมาในภาวะเดิมหรือเรียกว่าการปรับร่างกายให้อยู่ในภาวะคงที่ (steady state) ระบบควบคุมสมดุลร่างกายเกิดขึ้นโดยผ่าน ประสาทเป็นวงจร reflex หรืออาศัย ฮอร์โมน
Pathology
2.Disease:โรค
(ตัวกระตุ้น ที่ทำลายเนื้อเยื่อ หรืออวัยวะ หลายประเภท)
3.lesion:แผล
(ความผิดปกติของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อ ผลของการบาดเจ็บหรือเสียหายส่งผลให้เกิดการศูนย์เสียการทำงาน)
4.etiology:สาเหตุ
(สาเหตุอาจมาจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม)
(the tubercle bacillus is the cause of tuberculosis):เชื้อบาซิลัสเป็นสาเหตุของวัณโรค
5.pathogenesis:กลไกการเกิดโรค
(กระบวนการขั้นตอนที่ทำให้เกิดโรค)
6.symptom:อาการ
(สิ่งที่บ่งชี้ของโรค สิ่งที่ผู้ป่วยรู้สึก)
(e.g., pain, dizziness) ความเจ็บปวด,เวียนศรีษะ
7.sign:การเข้าสู่ร่างกาย
(ข้อบ่งชี้อาการของโรค สิ่งที่สามารถสังเกตุเห็นหรือวัดได้)
-high blood pressure (ความดันโลหิตสูง)
-splenomegaly (ม้ามโต)
8.complication:ภาวะแทรกซ้อน
(อาการผิดปกติที่เกิดขึ้น ภาวะแทรกซ้อน)
-Myocardial infarction is one complication of atherosclerotic coronary artery disease.
(กล้ามเนื้อหัวใจตาย เป็นภาวะแทรกซ้อนหนึ่งของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน)
9.Cause of Death:สาเหตุของการตาย
(ความบาดเจ็บหรือพิษเข้าสู่ร่างกาย ทางตรง/ทางอ้อม)
10.Diagnosis
(dia = between; gnosis = to know)
การวินิจฉัยโรค
การวินิจฉัย MI
อาการเจ็บหัวใจอย่างน้อย 30 นาที
การเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การเพิ่มของเอ็นไซม์จากกล้ามเน้ือ
11.Differential Diagnosis:การวินิจฉัยแยกโรค
(รายการวินิจฉัยที่เป็นไปได้)
12.prognosis:การทำนายอาการของโรค
(การคาดการณ์ โอกาสของการเกิดโรค และโอกาสในการฟื้นตัว)
1.ความหมาย
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับโรค ที่ ครอบคลุม สาเหตุ กลไกการเกิดโรค การ เปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและหน้าที่
Scope of Pathology
ขอบเขตของพยาธิวิทยา
General Pathology
พยาธิวิทยาทั่วไป
Anatomic Pathology (AP)
Clinical Pathology (GP)
Basic Pathology
Systemic Pathology
Special Pathology AP + CP
พยาธิวิทยาพิเศษ
Autopsy Pathology (การตรวจชันสูตรศพ)
การศึกษาโรคจากศพในโรงพยาบาล
Forensic Pathology
(นิติเวชศาสตร์)
Surgical Pathology(ผ่าตัด) เป็นการตัดชิ้นเนื้อผู้ป่วย (biopsy) จากตาแหน่งที่ สงสัยเป็นโรคนำมาศึกษา
Excisional biopsy :การตัดชิ้นเนื้อที่สงสัยทั้งชิ้นเพื่อตรวจ
Incisional biopsy : การผ่าตัดเอาชิ้นเนื้อบางส่วนส่งตรวจ
Core biopsy : การใช้เข็มขนาดใหญ่ตัดชิ้นเนื้อบางส่วน หรือดูดเอาน้ำไปตรวจ
Needle Biopsy :การใช้เข็มเล็กๆตัดเอาชิ้นเน้ือไปตรวจ
Cyto-Pathology การตรวจวินิจฉัยการเปลี่ยนแปลงเซลล์
Molecular Pathology ศึกษา โครงสร้างและ หน้าที่ของ Geneในระดับโมเลกุลของโรคใดโรคหนึ่ง
Aetiology (สาเหตุ)
Investigation of the underlying causes of disease
(การตรวจสอบสาเหตุของโรค)
Extrinsic (ภายนอก)
Infectious agents, chemical agents and physical agents
(การติดเชื้อ ทางสารเคมี ทางร่างกาย)
Intrinsic (ภายใน)
Genetics, age and gender
(พันธุศาสตร์,อายุ,เพศ)
I diopathic diseases: diseases with no known cause
(โรคที่ไม่ทราบสาเหตุ)
Main Cluster of Diseases (กลุ่มหลักของโรค)
กลุ่ม1
Congenital Disorders
(ความผิดปกติแต่กำเนิด)
Hereditary Disease (โรคทางพันธุกรรม)
*Familial diseases(โรคเกี่ยวกับครอบครัว)
Congenital anomaly (ความผิดปกติแต่กำเนิด) *Abnormal Growth &Development. (การเติบโตผิดปกติแต่ กำเนิดและการพัฒนา)
กลุ่ม2
Disorders of Self defense mechanism
(ความผิดปกติของกลไกป้องกันตนเอง)
inflammation (แผลอักเสบ)
Immume disordes
(ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้งกัน)
กลุ่ม3
Formation of Tumor
(การก่อตัวของเนื้องอก)
Non -Neoplastic
Neoplastic (เนื้องอก)
กลุ่ม4
Unclassified (non-specified)
ไม่ได้จัดประเภท ไม่ระบุ
Metabolic Disorders (ความผิดปกติของเมตาบอลิก)