Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายสาธารณสุขอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล …
กฎหมายสาธารณสุขอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
และการผดุงครรภ์
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
เป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายสาธารณสุขที่กำหนดสิทธิ และหน้าที่ในการป้องกันและรักษาไว้ซึ่งชีวิต ร่างกายสุขภาพและอนามัยของประชาชน
ข้อจำกัดและเงื่อนไขในการรับมอบหมายให้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ผู้ที่กระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์กรบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น หรือสภากาชาดไทย จะมอบหมาย ให้ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ต้องเป็นบุคคลซึ่งระเบียบนี้กำหนด
บุคคลซึ่งไดัรับมอบหมายจะทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้เฉพาะ
บุคคลต้องอยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
เพื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ระเบียบนี้กำหนด
ต้องเป็นการปฏิบัติราชการหรืออยู่ในสถานพยาบาลของทางราชการเท่านั้น
บุคคลที่สามารถทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ มีดังนี้ พนังงานอนามัย เจ้าพนักงานสาธารณสุข ผู้สำเร็จประกาศนียบัตรสาธารณสุขสาสตร์ ผู้ช่วยพยาบาลและผดุงครรภ์ ผู้ช่วยพยาบาลและจิตเวช พนักงานสุขภาพชุมชน ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)
ผู้ประกอบวิชาชีพการการพยาบาลและผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นสอง
ด้านอายุรกรรมให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้นและโรคติดต่อตามโครงการของกระทรวงสาธารณสุข
การให้น้ำเกลือในผู้ป่วยท้องเดินอย่างรุนแรง การฉีดเซรุ่มแก้พิษงู การสวนปัสสาวะ การสวนล้างกระเพาะปัสสาวะอาหารโดยใช้สายยางในรายที่สงสัยว่ารับประทานสารพิษ
ด้านศัลยกรรม ผ่าฝี เย็บบาดแผลที่ไม่สาหัส ชะล้าง ทำแผล ตกแต่งบาดแผล ผ่าเอาสิ่งแปลกปลอมซึ่งอยู่ในตำแหน่งซึ่งไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะสำคัญของร่างกายออก โดยฉีดยาระงับความรู้สึกทางผิวหนั
ง
ด้านสูตินรีเวชกรรม ทำคลอดในรายปกติ ทำการช่วยเหลือขั้นต้นในรายที่มีการคลอดผิดปกติ ทำการช่วยเหลือในกรณีที่จะมี การทำแท้ง หรือหลังแท้งแล้ว การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค รวมถึงการฉีดวัคซีนป้องกันโรค การวางแผนครอบครัว การฉีดยาคุมและจ่ายยาเม็ดคุมกำเนิด การเจาะโลหิตจากปลายนิ้วหรือหลอดเลือดดำเพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือเพื่อบริจาคเข้าธนาคารเลือด ด้านปัจจุบันพยาบาล ให้การปฐมพยาบาลเกี่ยวกับการได้รับสารพิษ และสัตว์ มีพิษกัดต่อย การแพ้ยา การแพ้เซรุ่ม
ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ทำการประกอบวิชาชีพ เวชกรรมได้ และกระทำการด้านการวางแผนครอบครัว ใส่และถอดห่วงอนามัยได้
ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นสอง ผู้มีวุฒิประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาลหรือประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาลและจิตเวช
ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง หรือผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นสอง ซึ่งได้ผ่านการอบรมตามหลักสูตรของกระทรวงสาธารณสุข
ผู้ขอรับการใส่ห่วงอนามัยได้คลอดบุตรมาแล้ว 45-60 วัน และยังไม่มีประจำเดือน
ผู้ขอรับการใส่ห่วงอนามัยได้คลอดหรือแท้งลูกมาแล้ว 30 วัน และยังไม่มีประจำเดือน
ได้ทดสอบผู้ขอรับการใส่ห่วงอนามัยแล้วว่าไม่ตั้งครรภ์
ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล หรือผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลผดุงครรภ์ ซึ่งได้ผ่านการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวกับการผ่าตัดทำหมันหญิงหลังคลอด ทำการผ่าตัดทำหมันหญิงหลังคลอดหรือใส่และถอดยาฝังคุมกำเนิดได้
ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล หรือผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ทำการให้ยาสลบเฉพาะการให้สลบชนิด gerneral anesthesia ให้อยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมอย่างใกล้ชิด
ให้บุคคลซึ่งได้ผ่านการศึกษาหรือฝึกอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวกับวิชาวิทยาสาสตร์การแพทย์ทำการประกอบวิชาชีพได้
ให้บุคคลซึ่งได้ผ่านการอบรมตามหลักสูตรการผดุงครรภ์โบราณของกระทรวงสาธารณสุข ทำการรับฝากครรภ์และทำคลอดในรายปกติได้
ให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านซึ่งได้ผ่านการอบรม ได้รับหนังสือรับรองความรู้ความสามารถจากกระทรวงสาธารณสุข ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมและใช้ยาได้
ให้อาสาสมัครของสมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยหรืออาสาสมัครของสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชนทำการจ่ายยาเม็ดคุมกำเนิดที่มีตราของสมาคมประทับที่แผงยาได้
การใช้ยาตามบัญชียา ให้บุคคลที่ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ใช้ยาตามบัญชียาที่หน่วยราชการของกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น หรือสภากาชาดไทยกำหนด ทั้งนี้ต้องไม่เกินรายการบัญชียาสามัญประจำบ้าน
การประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้น ตามวิธีการที่กำหนดไว้ในแบบเรียนด้วยตนเองของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อบรรเทาอาการหรือโรค
ให้การปฐมพยาบาลเกี่ยวกับบากแผลสด กระดูกหัก ข้อเคลื่อน ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก เป็นลม ชัก จมน้ำ งูกัด สุนัขกัด หรือสัตว์อื่นกัด ไฟฟ้าดูดและได้รับสารพิษ
เจาะโลหิตเพื่อตรวจหาเชื้อไข้จับสั่น การใช้ยา
ยาสามัญประจำบ้านตามกฎหมายว่าด้วยยา
ยาที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม สั่งให้จ่ายให้แก่คนไข้เฉพาะราย และเฉพาะคราว
ยาสมุนไพรที่กำหนดในแบบเรียนด้วยตนเองของกระทรวงสาธารณสุขในงานสาธารณสุขมูลฐาน
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พศ 2541
การควบคุมสถานพยาบาลเพื่อต้องการควบคุมสถานที่ทำการตรวจรักษาโรคให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ถูกสุขลักษณะ
คำจำกัดความ
มาตรา 4 “สถานพยาบาล” หมายความว่า สถานที่รวมตลอดถึงยานพาหนะ ซึ่งจัดไว้เพื่อการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมาย ว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ
“ผู้ป่วย” หมายความว่า ผู้ขอรับบริการในสถานพยาบาล
“ผู้รับอนุญาต” หมายความว่า ผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล
“ผู้ดำเนินการ” หมายความว่า ผู้ได้รับใบอนุญาตให้ดำเนินกาiสถานพยาบาล
“ผู้ประกอบวิชาชีพ” หมายความว่า ผู้ประกอบโรคศิลปะ
สถานพยาบาล
สถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน รักษาเฉพาะผู้ป่วยไป-กลับ เช่น คลินิก
สถานพยาบาลประเภทรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน รับตรวจผู้ป่วยไป-กลับ และค้างคืน
การขออนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
คุณสมบัติของผู้ขอใบอนุญาต
มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
ไม่เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำ เว้นแต่ เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ
มีอายุไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์
ไม่เป็นโรคที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
หน้าที่ของผู้รับอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
ต้องแสดงรายละเอียดดังนี้ไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่ายในสถานพยาบาลนั้น
สิทธิของผู้ป่วย
อัตราค่ารักษาพยาบาลและค่าบริการ
tรายการเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม การพยาบาล ซึ่งประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลนั้นext
ชื่อสถานพยาบาล
ต้องแสดงใบอนุญาตของตนไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่ายในสถานพยาบาลแห่งนั้น
การย้ายสถานพยาบาลไปประกอบกิจการที่อื่นต้องดำเนินการเช่นเดียวกันกับการขออนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาลใหม่
ถ้าประสงค์จะเลิกกิจการสถานพยาบาล ต้องแจ้งเป็นหนังสือและจัดทำรายงานที่จะปฏิบัติเกี่ยวกับผู้ป่วยให้ผู้อนุญาตทราบล่วงหน้าอย่างน้อยสิบห้าวัน
ต้องปฏิบัติตามคำสั่งของผู้อนุญาตที่ให้ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งในการเลิกกิจการ
ถ้าพ้นจากหน้าที่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เกินเจ็ดวัน ผู้รับอนุญาตอาจมอบหมายให้บุคคลซึ่งมีคุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาตทราบภายในสามวัน นับแต่วันที่เข้าดำเนินการแทน
ถ้ามีการเปลี่ยนตัวผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลต้องแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้รับอนุญาตทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีการเปลี่ยนนั้น
ต้องไม่เรียกเก็บเงินหรือยินยอมให้มีการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาล และต้องให้การบริการแก่ผู้ป่วยตามสิทธิที่แสดงไว้
อายุใบอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
มีอายุจนถึงสิ้นปีปฏิทินของปีที่สิบนับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
การขออนุญาตดำเนินการสถานพยาบาล พ.ร.บ.สถานพยาบาล พ.ศ.2541
เป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ต้องไม่เป็นผู้ดำเนินการสถานพยาบาลอยู่ก่อนแล้วสองแห่ง
ต้องเป็นผู้ที่สามารถควบคุมดูแลกิจการสถานพยาบาลได้โดยใกล้ชิด
หน้าที่ของผู้ดำเนินการสถานพยาบาล
ต้องควบคุมดูแลให้ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย
ต้องควบคุมดูแลมิให้มีการรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนเกินจำนวนเตียงตามที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต
ต้องควบคุมดูแลสถานพยาบาลให้สะอาดเรียบร้อย ปลอดภัย
ต้องควบคุมดูแลมิให้ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลที่ ประกอบวิชาชีพผิดสาขา
หน้าที่ร่วมกันของผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการสถานพยาบาล
ต้องจัดให้มีเครื่องมี เครื่องใช้ ยา และเวชภัณฑ์ที่จำเป็นประจำสถานพยาบาลนั้น
ต้องจัดให้มีและรายงานหลักฐานเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล ผู้ป่วย
ต้องจัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลตามวิชาชีพและจำนวนที่กำหนดในกฎกระทรวงตลอดเวลาทำการ
ต้องควบคุมและดูแลการประกอบกิจการสถานพยาบาลให้เป็นไปตามมาตรฐาน การบริการตามที่รัฐมนตรีประกาศ
ต้องควบคุมดูแลให้มีการช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วยซึ่งอยู่ในสภาพอันตราย
ต้องควบคุมดูแลมิให้มีการใช้หรือยินยอมให้ผู้อื่นใช้สถานพยาบาลประกอบกิจการสถานพยาบาลผิดประเภท
ต้องควบคุมดูแลมิให้โฆษณาหรือยินยอมให้ผู้อื่นโฆษณาชื่อ ที่ตั้งหรือกิจการสถานพยาบาลหรือคุณวุฒิ
ต้องไม่จัดทำหรือยินยอมให้ผู้อื่นจัดทำหลักฐานเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลและค่าบริการเอกสารแสดงการตรวจโรค
โทษ
การปิดสถานพยาบาลชั่วคราว
โทษทางอาญา
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2523
การแจ้งความโรคติดต่อ มาตรา 7 กำหนดเกี่ยวกับแจ้งความโรคติดต่อ
ในกรณีมีการป่วยหรือมีเหตุสงสัยว่าได้มีการป่วยด้วยโรคติดต่อเกิดขึ้นในสถานพยาบาลให้เป็นหน้าที่ของผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาลนั้น
ในกรณีที่ได้มีการชันสูตรทางแพทย์ตรวจพบว่าอาจมีเชื้ออันเป็นเหตุของโรคติดต่อ ให้เป็นหน้าที่ของผู้ทำการชันสูตรทางแพทย์ที่ได้มีการชันสูตรทางแพทย์นั้น
ในกรณีที่มีการเจ็บป่วยหรือมีเหตุสงสัยว่าได้มีการป่วยโดยโรคติดต่อเกิดขึ้นในบ้าน ให้เป็นหน้าที่ของเจ้าบ้าน หรือของแพทย์ผู้ทำการรักษาพยาบาล
แจ้งเจ้าหน้าที่แห่งท้องที่ภายใน 24 ชั่วโมง
ในกรณีที่มีโรคติดต่ออันตราย ให้บุคคลดังต่อไปนี้แจ้งเจ้าพนักงานสาธารณสุขหรือพนักงานเจ้าหน้าที่
กฎหมายกำหนดกฎเกณฑ์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
ถ้าหากปรากฎว่ามีโรคติดต่ออันตรายเกิดขึ้นนอกราชอาณาจักรรัฐมนตรีหรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีมอบหมายมีอำนาจประกาศให้ท้องที่หรือเมืองท่าในต่างประเทศนั้นๆเป็นเขตติดโรค
กำหนดให้ช่องทางและด่านตรวจคนเข้าเมืองตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง เป็นด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
ค่าใช้จ่ายต่างๆที่ต้องปฏิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงานสาธารณสุขในการควบคุมและป้องกัโรคติดต่อ
โทษ
ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามประกาศ หรือคำสั่งของเจ้าพนักงานสาธารณสุข เมื่อมีเหตุสงสัยว่าได้เกิดโรคติดต่ออันตรายขึ้น มีโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
ถ้าเจ้าของยานพาหนะหรือผู้ควบคุมยานพาหนะไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของเจ้าพนักงานสาธารณสุข มีโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี ปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
บุคคลใดไม่แจ้งต่อเจ้าพนักงานสาธารณสุข เมื่อมีโรคติดต่ออันตราย มีโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล มีบทบาทดังนี้
ผู้แจ้งความโรคติดต่อ เมื่อพบหรือสงสัยว่าผู้ป่วยหรือผู้มาขอรับบริการสาธารณสุขป่วยด้วยโรคติดต่ออันตราย ผู้ประกอบวิชาชีพซึ่งเป็นผู้ตรวจพบต้องแจ้งต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขภายใน 24 ชั่วโมง
ผู้ควบคุมการระบาดของโรค เมื่อมีผู้ป่วยโรคติดต่ออยู่ในความดูแล ผู้ประกอบวิชาชีพต้องให้ความสำคัญต่อการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พศ 2558
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
ชื่อและอาการสําคัญของโรคติดต่ออันตรายและโรคติดต่อ
ช่องทางเข้าออกแห่งใดในราชอาณาจักรให้เป็นด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ และยกเลิกด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ เมื่อมีเหตุอันสมควร
ให้ผู้ควบคุมพาหนะแจ้งกําหนดวัน เวลา และสถานที่ที่พาหนะนั้นๆ จะเข้ามาถึงด่านควบคุมโรคติดต่อ
ห้ามผู้ใดเข้าไปในหรือออกจากพาหนะที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยังไม่ได้รับการตรวจ จากเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจําด่าน
ให้ผู้ควบคุมพาหนะที่เข้ามาในราชอาณาจักรยื่นเอกสารต่อเจ้าพนักงาน ควบคุมโรคติดต่อประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
เข้าไปในพาหนะและตรวจผู้เดินทาง สิ่งของ หรือสัตว์ที่มากับพาหนะ ตรวจตราและควบคุม ให้ผู้ควบคุมพาหนะแก้ไขการสุขาภิบาลของพาหนะให้ถูกสุขลักษณะ
ห้ามผู้ควบคุมพาหนะนําผู้เดินทางซึ่งไม่ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดเข้ามาในราชอาณาจักร
นางสาวเนหา สุกูล 36/1 เลขที่61
อ้างอิง
สื่อการเรียนการสอนหน่วยที่3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพ