Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพ ในการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ…
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพ ในการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ที่มีปัญหาระบบผิวหนังและภูมิคุ้มกัน
หน้าที่ของผิวหนัง
ควบคุมอุณหภูมิของรา่งกายใหอ้ยู่ในระดบัปกติอุณหภูมิของรา่งกาย ปกติจะอยู่ประมาณ 37 องศาเซลเซียส
ขับถ่ายของเสียออกจากต่อมเหงื่อออกทางรูเหงื่อ เพื่อกำจัดของเสียและ ระบายความร้อนออกจากร่างกาย อีกทั้งทำให้ผิวหนังชุ่มชื้นทั่วร่างกาย ทั่ว ร่างกายของเรามีต่อมเหงื่อประมาณ 2 ล้านต่อม มีมากที่สุดบริเวณฝ่ามือฝ่าเท้า
ป้องกันอวัยวะภายใน เป็นหน้าที่ที่สำคัญที่สุดของผิวหนังเพราะผิวหนัง เป็นสิ่งที่ห่อหุ้มร่างกายเรา
ขับน้ำมันออกจากต่อมไขมันออกทางรูขน ทำให้ผิวหนังไม่แห้งแตกและยัง ช่วยลดแสงแดดที่ตกกระทบผิวหนังอีกทั้งช่วยป้องกันน้ำที่จะไหลเข้า – ออกทาง ผิวหนัง
เป็นแหล่งสร้างวิตามินดีใหแ้ก่ร่างกาย โดยอาศัยแสงแดดชว่ยสังเคราะห์ สารเฮอร์โกสเตอรอยที่อยู่ในผิวหนังให้เป็นวิตามินดี เพื่อป้องกันโรคกระดูกอ่อน
รับความรู้สึกโดยมปีลายประสาทรับรคู้วามรู้สึกตา่งๆ ชั้นหนังกำพร้า ปลายประสาทรับความเจ็บปวด สัมผัส ชั้นหนังแท้ ปลายประสาทรับความเย็น
ชั้นไขมัน ปลายประสาทรับความร้อน แรงกดดัน
ความผิดปกติผิวหนังที่พบบ่อย
โรคราที่เท้าหรือโรคฮ่องกงฟุต(Hong Kong Foot)
เกิดจากเชื้อราที่เท้า เนื่องจากรองเท้าอับชื้นหรือลุยน้ำสกปรกทำ ให้เกิด อาการคันที่ซอกนิ้วเท้า
การป้องกันล้างเท้าให้สะอาดเช็ดให้แห้ง ควรจะปรึกษาแพทย์และเมื่อหาย แล้วไม่ควรนำถุงเท้า และรองเท้าคู่เดิมมาใช้อีก เพราะอาจยังมีเชื้อราอยู่
ผวิหนังแห้งกร้าน (Dry’s skin)
เกิดจากสภาพแวดล้อมภายนอก ผิดปกติ เช่น อากาศหนาวจัดหรืออากาศแห้งมาก การฟอกสบู่บางชนิด เชน่ สบู่ยา หรือใช้ สบู่บ่อยครั้งเกินไปทำให้ไขมันที่ผิวหนังลด น้อยลง
การป้องกันให้หลีกเลี่ยงสถานที่ที่มี อากาศเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เช่น หนาวจัด ร้อนจัด และสวมใส่เสื้อผ้าที่ให้หนังแห้งและแตก มากขึ้น ควรใช้น้ำมันหรือครีมทาผิวเพื่อรักษา ความชุ่มชื้นของผิวหนังไว้และป้องกันไม่ให้น้ำระเหยออกจากผิวหนังมากเกินไป
ผิวหนังบวมน้ำ
ขาบวม กดบุ๋ม
เกลื้อน (Tinea versicolor)
เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อราชนิดหนึ่ง พบมากในผู้ที่ประกอบอาชีพที่อยู่ในอุณหภูมิสูงมีเหงื่อออกมาก มีความชื้นสูง หรือสกปรกเปรอะเปื้อนพวกไขมันและ ฝุ่นละออง เช่น นักกีฬา ทหาร ตำรวจจราจร ผู้ใช้แรงงาน เป็นต้น
ลักษณะของเกลื้อนที่ผิวหนังจะเป็นปื้นๆ มีขนาดต่างๆ กัน อาจมีสีค่อนข้างแดง น้ำตาล ขาวซีด อาจมีสะเก็ดบาง ๆ เล็ก ๆ เป็นต้น
การป้องกันและรักษาทำได้โดยอาบน ้าและเช็ดตัวให้แห้ง อยู่เสมอ ไม่คลุกคลีหรือใช้เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มร่วมกับผู้เป็นเกลื้อน และถ้าเป็นเกลื่อนให้ใช้ขี้ผึ้งรักษากลากเกลื้อน ทาบริเวณที่เป็น ถ้ามีอาการลุกลามมากขึ้นให้ไปพบแพทย์
1.ผิวหนังขาดน้ำ
อาการต่างๆที่เกิดขึ้นจากสภาวะขาดน้ำ
6.กลาก (Ring Worm)
เป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่งที่เกิดจาก เชื้อราหลายชนิด กลากจะขึ้้นทั่วไป และมี ลักษณะต่าง ๆ กันตามตำแหน่งของผิวหนังที่ เป็น เช่น ที่ศีรษะ ลำตัว ขาหนีบ ก้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อรา อาการ โดยทั่วไป จะเป็นผื่นแดงที่ผิวหนัง จากจุดเล็ก ๆ แล้วขยายออกเป็นวงเดียว
ฝี (Abscess)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีอยู่บนผิวหนังทั่วไป ทำให้เกิดการอักเสบที่บริเวณรอบ ๆ ขุมขน ต่อมเหงื่อ ต่อมไขมัน หรือทางรากผม ต่อมาเป็นหนอง ระยะแรกจะมีลักษณะบวมแดงเริ่มจากเป็นเม็ดเล็ก ๆ หรือก้อน แข็งแล้วโตอย่างรวดเร็วมีหัวหนอง สีเหลืองตรงกลาง ต่อมาหวัหนอง อ่อนตัวลงจนมลีกัษณะนุ่มเหลว มีหนองสีเหลือง เหนียวเหลว แข็ง และร้อนบริเวณที่เป็น
การป้องกันและรักษา
อาบน้ำอย่างน้อยวันละ 2 คร้ัง และรักษาผิวหนังให้ สะอาดอยู่เสมอไม่ใช้เล็บหรือมือที่สกปรกแกะ เกา ผิวหนัง หากเป็นฝีห้ามบีบหรือบ่งหัวฝีจนกว่าจะมีอาการอ่อนนุ่มที่ ตรงกลาง ถ้าฝีไม่แตกออก หรือเป็นหนองควรไปพบแพทย์ ถ้าปวดหรือมไีข้ให้กินยาลดไข้
สังคัง(Tinea Cruris)
สาเหตุของสังคัง เกิดจากการได้รับเชื้อราและเชื้อรานั้นอยู่ในสภาวะที่เหมาะสมที่จะ ลุกลามต่อไปเป็นวงกว้าง เชื้อรามักอยู่ในเซลล์ที่ตายแล้วบริเวณขาหนีบและ เนื่องจากประเทศไทยเป็นเมืองร้อน อากาศชื้น เหงื่อออกตามร่างกายได้ง่าย โดยเฉพาะบริเวณขาหนีบซึ่งเป็นมุมอับ อากาศระบายเข้า-ออกไม่ดี
วืธีป้องกันและรักษาสังคัง เริ่มมีอาการคันบริเวณขาหนีบ อย่าชะล่าใจปล่อยให้ลุกลาม ไปมากกว่านี้ ให้รีบไปหาหมอเพื่อทำการรักษา ไม่ว่าจะเป็นการใช้ยากินหรือยา ทาที่ได้รับมาจากหมอ ให้ใช้ยานั้นอย่างต่อเนื่องตามที่หมอสั่งอย่างเคร่งครัดและ ที่สำคัญคือเมื่ออาการสังคังทุเลาหรือดีขึ้นแล้วอย่าหยุดใช้ยาโดยเด็ดขาด ให้ใช้ ยาต่อไปอีกระยะหนึ่งเพื่อป้องกันไม่ให้กลับมาเป็นสังคังซ้ำอีก
ลักษณะผิวหนังปกติ ในผู้สูอายุ
ปัญหาระบบผิวหนังที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ผิวหนัง อักเสบจาก การแพ้ยา
การ อักเสบของ ผิวหนัง
.3. การตก กระผิว เปลี่ยนสี ในผู้สูอายุ
อาการ คัน
ผิวหนัง เป็นตุ่มเป็น ก้อน
แผลกดทับ
การดแูลผู้สูงอายุที่มีปัญหาที่พบบ่อย ระบบผิวหนัง
การดูแลผิวหนังที่แห้งเป็นขุย ไม่ควรอาบน้ำบ่อยจนเกินไปและควรใช้สบู่เท่าที่จำเป็นควรใช้สบู่ที่มีครีม เป็นส่วนผสม ไม่ควรใช้สบู่ที่เป็นด่าง ถ้ามีอาการคนัไม่ควรเกาหรอืแกะ
การดูแลผิวหนังเป็นตุ่มก้อน
หลีกเลี่ยงการถูกสิ่งระคายเคืองไม่ควรตากแดดเป็นเวลานาน ไม่ควรแกะตุ่มก้อนนั้น เพราะอาจจะทำใหต้ิดเชื้อและมีเลือดออก
การดูแลผิวที่เปลี่ยนสี หลีกเลี่ยงที่ๆมีแสงแดดแรงใส่เสื้อปกคลุมผิวหนังเมื่อจำเป็นต้องออก ไปสู่แสงแดดหรือใช้ครีมทากันแสงแดดแต่การใชย้าทาต่างๆไม่ สามารถแกไ้ขให้สีผิวกับมาเหมือนเดิมได้
การดูแลผิวหนังอักเสบจากการแพย้า ให้สังเกตวา่ผิวหนังของผูสู้งอายุที่อักเสบเกิดจากสาเหตุใดหลีกเลี่ยง สิ่งที่เป็นสาเหตุ ก็จะช่วยให้อาการทุเลาลงได้
การดูแลผิวหนังอกัเสบ ผิวหนังย่น เหี่ยว หย่อนยาน ผิวหนังของผูสู้งอายุสามารถฉีกขาดง่าย จึงควรระวังการถูกกระทบ กระแทรกด้วยของแข็งของมีคม หลีกเลี่ยงการแกะเกา
การดูแลผู้ที่มีปัญหาแผลกดทับ ( Pressure sore)
ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้อง
การไม่เคลื่อนที่ หรือการ เคลื่อนไหวลดลง
การรับรู้ความความรู้สึกทางผิวหนังลดลงจนถึงไม่มีความรู้สึก
ภาวะโภชนาการไม่ดี น้ำหนัก ตัวลดลง
ผิวแห้ง เคยเป็นแผลกดทับมาก่อน
อายุมากและผู้สูงอายุที่หง่อม
มีปัญหาของระบบประสาท เช่น อัมพฤก อัมพาต
การดูแลผู้ที่มีปัญหาแผลกดทับ ( Pressure sore)
ประเมินผิวหนังทุกวัน
ใช้โลชั่นทาผิวให้ชุ่มชื้นในผู้สูงอายุที่ผิวแห้ง
จัดหัวต่ำเพื่อลดแรงเฉือน ใช้หมอนหรืออุปกรณ์เฉพาะผิวหนังบริเวณ ป่มุกระดกู ยกส้นเท้าพ้นเตียง
ไม่ถูนวดปุ่มกระดูกใช้สารหล่อลื่น เช่น วาสลนิทา
ระบบภูมิคุ้มกัน
ความผิดปกติภูมิคุ้มกันร่างกายที่พบบ่อย
โรคภูมแิพ ้ (allergy,atopy) โรคที่เกิดจากปฏิกิริยาตอบสนองที่มี ปฏิกิริยาภูมิไวเกินกว่าปกติของร่างกายต่อสิ่ง แปลกปลอมที่จ าเพาะ เช่น ผู้เป็นโรคภูมิแพ้ที่มี ปฏิกิริยาภูมิไวต่อฝุ่น ไรฝุ่น เชื้อราในอากาศ อาหาร ขนสตัว ์และเกสรดอกไม ้เป็นตน้
การดแูลป้องกัน
1.หลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้ ซึ่ง สามารถทราบชนิดของสารก่อภมูแิพ้ได้จากการทำการทดสอบ ผิวหนัง
2.แนะนำการใช้ยาอย่างสม่ำเสมอ ตามคำแนะนำของแพทย์
3.การดแูลตนเองให้มีสุขภาพกาย และใจที่แข็งแรงอยู่เสมอ
(systemic lupuserythematosus; SLE)
อาการ/อาการแสดง 1. ผื่นแดงที่ใบหน้า โหนกแก้ม และสันจมูกรูปผีเสื้อ ที่เรียกว่า ผื่นผีเสื้อ (malarr 2. ผื่นเป็นวง (discoid rash) 3. แผลในปาก 4. อาการแพแ้สง
การรักษา ดูแล ยาสเตรยีรอยด์ ผลข้างเคียง กดภูมิทำให้ภูมิต้านทานต่ำ ทำ ให้ติดเชื้อได้ ผิวหนังบาง
โรคภาวะภมูิคมุ้กันบกพร่อง หรอืโรคเอดส์(acquired immunodeficiency syndrome; AIDS)
กลุ่ม อาการของโรคที่เกิดจากการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายถูก เชื้อไวรัสทำลายจนร่างกายของผู้ป่วยไม่ สามารถต่อสู้กับเชื้อโรคทั้งหลายที่เข้าสู่ ร่างกายได้
อาการของโรคเอดส์
ปอดอกัเสบ
อาการไข้ที่กลับมาเป็นซ้ำๆ
2.มีผื่นตามผิวหนัง ในช่องปาก จมูกและเปลือกตา
3.แผลที่ริมฝีปาก อวัยวะเพศและทวารหนัก
การติดเชื้อเอชไอวี 3 ระยะ
ระยะสงบทางคลินิก (Clinical Latency Stage) เป็นระยะที่เชื้อไวรสัอย่ใูน ร่างกายโดยไม่แสดงอาการใดๆ หรือระยะติดเชื้อเรื้อรัง (chronic HIV infection) หรือ ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ (asymptomatic HIV infection
ระยะสดุท้ายคือระยะโรคเอดส ์(AIDS) เป็นระยะที่การติดเชื้อเอชไอวีได้ พัฒนาเป็นโรคเอดส์
ระยะเฉียบพลัน(Acute HIV Infectious) เป็นระยะแรกของการ ติดเชื้อเอชไอวี เกิดขึ้นระหว่าง 2-4 สัปดาห์หลังจากติดเชื้อ
การดูแลผู้ที่ติดเชื้อ
ดูแลทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม
แนะนำการดแูลตนเอง ด้านร่างกาย
ดแูลให้กำลงัใจ และความร้ใูนการปฏิบัติตัว