Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก(Infertility) - Coggle Diagram
ภาวะมีบุตรยาก(Infertility)
ความหมาย
คู่สมรสไม่สามารถมีการตั้งครรภ์ โดยที่มี เพศกันอย่างสม่ำเสมอไม่ได้คุมกำเนิดระยะเวลา 1 ปี
ระยะเวลา 6 เดือน กรณีที่คู่สมรสฝ่ายหญิงที่มีอายุเกิน 35 ปีขึ้นไป
ประเภท
primary Infertility
ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ พยายามแล้วเป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
secondary Infertility
ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์ ไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลย นานกว่า 12 เดือน
สาเหตุ
ฝ่ายหญิง
Endometriosis 20 %
Immunological 5 %
ท่อนำไข่ 30 %
Other 5 %
การทำงานของรังไข่ผิดปกติ 40 %
ฝ่ายชาย
Sperm dysfunction ร้อยละ80
เชื้ออสุจิน้อย มีรุปร่างผิดปกติ เคลื่อนไหวน้อย
Sexual factors ร้อยละ10
Electile dysfunction , Premature dysfunction
Other ร้อยละ 10
ด้านจิตใจ
ความเครียด ความวิตกกังวล
ความสามารถในการมีบุตร
ชายอายุมากกว่าา55ปี อสุจิจะผิดปกติมากขึ้น
ความถี่ในการมีเพศสัมพันธ์จะส่งผลให้คุณภาพของอสุจิดีขึ้น
หญิงอายุ21-25ปี ความสามารถในการมีบุตรสูง
การวินิจฉัย
หญิง
ประวัติ
การผ่าตัด
แต่งงานมีบุตร
ประจำเดือน
การคุมกำเนิด
การดำรงชีวิตในด้านอื่นๆ
ตรวจร่างกาย
ตรวจเฉพาะสืบพันธุ์
ตัวมดลูก
hysterosalpingogram
Endometrium biopsy
PV
hysteroscopy
U/R
รังไข่
BBT
Cx mucous
Endometrium biopsy
serum progesterone
คอมดลูก
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ
PCT(postcoital test)
เยื่อบุพรหมจารีและช่องคลอด
PV
Wet smear
เยื่อพังผืดในเชิงกราน
Laparoscope
เต้านม
ทั่วไป
secondary sex
โรคทางอายุรกรรมที่ส่งผลให้มีบุตรยาก
lab
ตรวจฮอร์โมน
ตรวจเลือด
ชาย
ซักประวัติ
การได้รับยา รังสี สารเคมี
การมีเพศสัมพันธ์ ความถี่ในการมีเพศสัมพันธ์
รูปแบบการดำเนินชีวิต
การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด
เจ็บป่วยในอดีต
โรคคางทูม โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ โรคเบาหวาน โรคต่อมไร้ท่อ
ตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
การตรวจระบบสิบพันธ์
ตรวจอสุจิ
นำน้ำส่งตรวจภายใน 1 ชั่วโมง
ใส่ภาชนะที่เตรียมให้เท่านั้น
งดการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวันตรวจ 2-7 วัน
ไม่แนะนำให้มีการมีเพศสัมพันธ์ก่อนแล้วหลั่งข้างนอกหรือใช้ถุงยางอนามัย
วิเคราะห์อสุจิ
การมีชีวิต ร้อยละ 75
ความเป็นกรด-ด่าง 7.2 หรือมากกว่า
จำนวนเม็ดเลือดขาว 1 ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
รูปร่าง ลักษณะ ร้อยละ 14 รูปร่างลักษณะปกติ
การเคลื่อนที่ของตัวอสุจิ ร้อยละ 50
จำนวนของตัวอสุจิทั้งหมด 40 ล้านตัว
ความหนาแน่น 20 ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
ปริมาตร 2 มิลลิลิตร
การใช้เทคโนโลยี
GIFI
การนำไข่ที่สมบูรณ์ผสมกับอสุจิด้านนอกและฉีดเข้าไปในท่อนำไข่
กรณีนี้ไม่เหมาะกับ ผญ.ที่มีปัญหาปีกหมดลูก
ZIFI
คล้ายทำเด็กหลอดแก้ว
นำไข่และอสุจิผสมและเพาะเลี้ยง1วัน ถ้าเห็นว่าเกิดการปฏิสนธิจึงทำการฉีดเข้าท่อนำไข่
IVF
เด็หลอดแก้ว
นำไข่และอสุจิผสมและเพาะเลี้ยง2-5วัน ถ้าเห็นว่าเกิดการปฏิสนธิจึงทำการย้ายตัวอ่อนเข้าโพรงมดลูก
ข้อบ่งชี้
เยื่อพังผืดอุ้งเชิงกราน
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดปกติ
ท่อนำไข่ตีบ
มดลูกผิดปกติ
การตกไข่ผิดปกติ
มีบุตรยากไม่ทราบสาเหตุ
micromanipulation
ช่วยเหลือมีบุตรยากจากปัญหาด้านอสุจิ เช่นไม่แข็งแรง ไม่เคลื่อนไหว
วธีการคือนำเข็มเล็กๆเจาะที่เปลือกไข่และให้อสุจิวิ่งผ่านรูที่ใส่ หรือฉีดเข้าทางเปลือกไข่
อิซซ๊่(ICSI)
คือการฉีดอสุจิเข้าไปที่ไข่โดยตรง ซึ่งผ่านการใช้กล้องขยายกำลังสูง
ข้อบ่งชี้
ตัวอสุจิรูปร่างผิดปกติ(Teratozoospermia)
คู่สมรสทำการปฏิสนธินอกร่างกายแลัว ไม่สามารถปฏิสนธิได้
Retrograde ejeculation
อสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี(Asthenozoospermia)
ตัวอสุจิน้อย
immunolgical factor
การรักษา
ขั้นต้น
กระตุ้นไข่
ผสมเทียม
การใช้เครื่องมือฉีดเชื้ออสุจิเข้าไปภายในอวัยวะสิบพันธ์ของสตรี ช่วงที่ไข่ตก เชื้ออสุจิอาจเป็นของสามี ผู้บริจาค วิธีนี้เหมาะกับผู้ชายที่เชื้ออ่อนแอ
กำหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธ์
ภาวะมีบุตรยากไม่ทราบสาเหตุ
คือคู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจหาสาเหตุของการมีบุตรยากแล้วจนครบตามมาตรฐานแล้ว เช่น การประเมินการตกไข่ การตรวจวิเคราะห์น้ำอสุจิ การประเมินการอุคตันของท่อนำไข่ แต่ไม่พบความผิดปกติ โดยจะพบได้ร้อยละ 10 – 15 ของคู่สมรสทั้งหมด แต่ในกลุ่มนี้อาจพบสาเหตุได้หลังจากได้ทำการรักษาไปแล้ว เช่นพบปัญหาในการปฏิสนธิจากการทำเด็กหลอดแก้ว เป็นต้น