Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย - Coggle Diagram
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
แนวคิดทีสําคัญ (Major concept)
2 . ทฤษฎีรูปแบบการปรับตัวของบุคคล (Theory of the Adaptive Model)
2.1 การปรับตัวด้านร่างกาย (physiologic-Physical mode)
2.2 การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์ (self-concept mode)
อัตมโนทัศน์ด้านร่างกาย (physical self ) งอัตมโนทัศน์ด้านร่างกายแบ่งเปน 2 ส่วน ได้แก่
1) การรับความรู้สึกของร่างกาย (body sensation)
2) ภาพลักษณ์ (body image)
อัตมโนทัศน์ส่วนบุคคล (personal self) เปนความรู้สึกของตนเองเกียวกับความคาดหวัง ค่านิยม การให้คุณค่า ปณิธานทีตนเองยึดถือ ซ่ึงแบ่งเปน 3 ส่วนย่อย ได้แก่
1) ความมันคงในตนเอง (self - consistency)
2) อุดมคติแห่งตน (self – idea)
3) ศีลธรรม จรรยาและจิตวิญญาณ (moral-ethical-spiritual self )
2.3 การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที (role function mode)
1) บทบาทปฐมภูมิ (primary role
2) บทบาททุติยภูมิ (secondary role)
3) บทบาทตติยภูมิ (tertiary role)
2.4 การปรับตัวด้านการพึงพาระหว่างกัน (interdependence)
ระบบสนับสนุน (supportive system)
บุคคลทีมีความสําคัญ (significant others)
ทฤษฎีปฏิบัติการพยาบาล (Nursing Practice Theory)
แนวคิดกระบวนการพยาบาลทีสามารถใช้ได้ตังแต่ขันประเมินเปนต้นไป ซง่ึประกอบด้วย 6 ขันตอน
ขั้นที 1 การประเมินพฤติกรรม (Assessment of Behavior)
ขั้นที 2 การประเมินสิ่งเร้า (Assessment of Stimuli)
ขั้นที 5 การให้การพยาบาล (Intervention)
ขั้นที 3 การวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing diagnosis)
เกณฑ์ในการพิจารณาลําดับความสําคัญของปัญหา
ปญหาซึงคุกคามชีวิตของบุคคล
ปัญหาซึงกระทบกระเทือนการเจริญเติบโตของบุคคล
ปัญหาซึงกระทบกระเทือนต่อบุคคลหรือกลุ่มชนทีเกิดขึนอย่างยืดเยือและต่อเนือง
ปัญหาซึงกระทบกระเทือนขีดความสามารถของบุคคลทีจะบรรลุผลสําเร็จ
ขั้นที 4 การกําหนดเปาหมายการพยาบาล (Goal Setting)
ขั้นที 6 การประเมินผล (Evaluation)
ทฤษฎีระบบการปรับตัวของบุคคล (Theory of humans as Adaptive systems)
1.1 สิงนําเข้า (input)
สิ่งเร้าตรง (focal stimuli)
สิ่งเร้าร่วม (context stimuli)
สิ่งเร้าแฝง (residual stimuli)
1.2 กลไกควบคุมหรือกลไกการเผชิญ (coping mechanism)
2) กลไกการเผชิญที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ (acquired coping mechanisms)
กลไกการควบคุม (regulator subsystem)
กลไกการรับรู้ (cognition subsystem)
1) กลไกการเผชิญที่เกิดขึ้นในระบบตามธรรมชาติ (innate coping mechanisms)
ประวัติและการพัฒนาทฤษฎีการปรับตัวของรอย
ประวัติของผู้พัฒนาทฤษฎี
1939: Sister Callista Roy was born in Los Angeles, California USA on October 14
1963: สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการพยาบาล จาก Mount St. Mary’s College,Los Angeles, California USA.
1966: สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททางการพยาบาล ในสาขาการพยาบาลเด็ก จาก University of California, Los Angeles, California USA.
1975: สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททางด้านสังคมวิทยา จาก University of California, Los Angeles, California USA.
1997: สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทางด้านสังคมวิทยา จาก University of California, Los Angeles, California USA.
1983-1985: ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยหลังปริญญาเอก จาก Robert Wood Johnson Clinical Nurse. Scholar Program ในสาขาประสาทวิทยา ซึงเปนทุนสนับสนุนจาก University of California, San Francisco
ประวัติการทํางาน
คอลลิสต้า รอย เริมทํางานตังแต่อายุ 14 ป ในโรงพยาบาลทัวไป โดยในช่วงแรกนันทํางานในฝาย โภชนาการ ต่อมาเปลียนมาทําหน้าทีแม่บ้านของโรงพยาบาล จนกระทังได้ปฏิบัติงานในหน้าทีผู้ช่วยพยาบาล
หลังสําเร็จการระดับปริญญาโททางการพยาบาล สาขาการพยาบาลเด็ก จึงเข้าทํางานที Mount St. Mary’s College โดยทําการสอนทังการพยาบาลเด็กและการพยาบาลมารดาทารก
ระหว่างนันได้มีการพัฒนาเนื้อหาที เกียวข้องกับการปรับตัวของบุคคลและครอบครัว จนกระทังมีการนําไปประยุกต์ใช้ในหลักสูตรทางการพยาบาล และในป คศ 1971 ได้ดํารงตําแหน่งหัวหน้าภาควิชาพยาบาลศาสตร์ของ Mount St. Mary’s College และมีการทําวิจัยเกียวกับแนวคิดทีพัฒนาขึน จนกระทังกลายเปนทฤษฎีการปรับตัวของรอย
มโนมติหลักข้อตกลงเบืองต้น
ข้อตกลงเบื้องต้น (Assumptions)
มนุษย์มีความสําคัญต่อสิงแวดล้อม
การปรับตัวของมนุษย์เกิดจากกลไกลการเรียนรู้
ความสามารถในการปรับตัวมีความสัมพันธ์ต่อสิงแวดล้อม
มนุษย์หนีความเจ็บป่วยไม่ได้
มโนมติหลัก (Metaparadigm)
บุคคล
สิ่งแว้ดล้อม
สุขภาพ
การพยาบาล
การนําทฤษฎีการปรับตัวของรอยไปประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
การนําทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ในงานวิจัย
การนําทฤษฎีการปรับตัวของรอยไปประยุกต์ใช้ในงานวิจัย ซึ่งมีการนําไปใช้กับผู้ปวยทีหลากหลาย ทังช่วง อายุ อาการเจ็บปวยและไม่เพียงนําไปประยุกต์ใช้ในงานวิจัยทีเกียวข้องกับผู้ป่วยเท่านั้นยังมีการนําไปประยุกต์ใน กลุ่มญาติผู้ดูแล
ตัวอย่างงานวิจัย
โปรแกรมส่งเสริมการปรับตัวสําหรับผู้ป่วยไตวายเรืองรังระยะสุดท้ายที่รักษาด้วยวิธีการล้างไตทางช่องท้อง
The Roy Adaptation Model: A Theoretical Framework for Nurses Providing Care to Individuals with Anorexia Nervosa
การนําทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
การนําทฤษฎีการปรับตัวของรอยไปประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล โดยดําเนินการตามขันตอนทัง 6 ขันตอน