Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาสำหรับพยาบาล (Pathophysiology for Nurses), คำตอบ…
พยาธิสรีรวิทยาสำหรับพยาบาล
(Pathophysiology for Nurses)
คำอธิบายรายวิชา
แนวคิดและหลักการของการ
เปลี่ยนแปลงของร่างกาย สาเหตุและปัจจัยการเกิดโรค พยาธิ พยาธิสภาพการอักเสบ การซ่อมแซมเนื้อเยื่อ การเกิดโรค
Homeostasis Control System ระบบควบคุมสมดุลภายในร่างกาย
ตัวรับรู้ (detector or sensor) รับรู้การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายนอกหรือภายใน ร่างกายที่แตกต่างไปจากภาวะปกติ
ศูนย์ประสานงานส่วนกลาง (integrating center) ศูนย์เหล่านี้จะรับสัญญาณจากตัวรับรู้หลายแห่งได้พร้อมๆกัน และส่งสัญญาณต่อไปเพื่อติดต่อกับส่วนต่างๆของร่างกาย
ระบบควบคุมดุลภายในร่างกายอาจเกิดได้โดยผ่าน
ประสาทเป็นวงจร reflex หรืออาศัยฮอร์โมน
ความหมาย
วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับโรค
ที่ครอบคลอบสาเหตุ กลไกการเกิดโรค การ
เปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและหน้าที่
โรค (Disease) :
สิ่งเร้าที่สร้างความเสียหายเซลล์เนื้อเยื่อหรืออวัยวะหลายประเภท
แผล Lesion :
ความผิดปกติในอวัยวะสร้างความเสียหาย อาจส่งผลให้
สาเหตุ Etiology :
สาเหตุของการเกิดโรค เป็นไปได้ทางพันธุกรรม
กลไกการเกิดโรค Pathogenesis :
กระบวนการหรือชุดของขั้นตอนที่เป็นสาเหตุสร้างโรค
อาการ Symptom :
ข้อบ่งชี้อัตนัยของโรค สิ่งที่ผู้ป่วยรู้สึก
เข้าสู่ระบบ Sign :
อาการของโรค สามารถวัดได้ เช่นความดันโลหิตสูง ม้ามโต
ภาวะแทรกซ้อนที่ Complication :
โรคที่สองหรือผิดปกติ เงื่อนไขที่เกิดขึ้นระหว่างหลักสูตรของโรคหลัก
การวินิจฉัย Diagnosis
(dia = ระหว่าง ; gnosis = ถึงทราบ) : การกระทำหรือกระบวนการในการตัดสินใจธรรมชาติ ของสภาพโรคโดยตรวจสอบอย่างระมัดระวัง
การวินิจฉัย MI
ประกอบด้วยหลักเกณฑ์อย่างน้อย 2 ข้อ จาก 3 ข้อ ดังนี้
อาการเจ็บหัวใจอย่างน้อย 30 นาที
การเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การเพิ่มของเอ็นไซม์จากกล้ามเนื้อ
การวินิจฉัยแยกโรค Differential Diagnosis
คำทำนาย Prognosis :
การคาดการณ์การหลักสูตรที่น่าจะเป็นของโรคและโอกาสในการฟื้นตัว
พยาธิวิทยา
Pathology
สาเหตุ ภายใน/ภายนอก
โดยตรง/โดยอ้อม
กลไกการเกิดโรค การเปลี่ยนแปลงใน
ระดับ เซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ ร่างกาย
อาการ อาการแสดง
การดำเนินของโรค
การพยากรณ์
การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและหน้าที่ รอยโรค พยาธิสภาพ ความผิดปกตอทางหน้าที่
พยาธิวิทยาเฉพาะทาง
การศึกษารายละเอียดการเปลี่ยนแปลง(รูปร่างโครงสร้างและหน้าที่)
Autopsy Pathology (การตรวจชันสูตรศพ) การศึกษาโรคจากศพ โดยศึกษาย้อนหลังไปตั้งแต่เริ่มเป็นโรค การดำเนินโรค อาการโรค ภาวะแทรกซ้อน จนถึงตาย และสาเหตุการตาย ตลอดจนผลการรักษา
Surgical Pathologyเป็นการตัดชิ้นเนื้อผู้ป่วย (biopsy) ตรวจสอบในห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยโรค และนำผลการวินิจฉัยนี้ให้แจ้งแพทย์ผู้รักษาวางแผนรักษาต่อไป
Cyto-Pathology การตรวจวินิจฉัยการเปลี่ยนแปลงเซลล์ ที่ปรากฏในของเหลวต่าง
Molecular Pathology การศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของ
Gene ในระดับโมเลกุลของโรคใดโรคหนึ่ง ผิดไปจาก Gene คนปกติอย่างไร
สาเหตุ
การตรวจสอบสาเหตุของโรค
ภายนอกตัวแทนติดเชื้อสารเคมี
และตัวแทนทางกายภาพ :star:
แท้จริง
พันธุศาสตร์อายุและเพศ
โรคที่ไม่ทราบสาเหตุ :star:
กลุ่มหลักของโรค :explode:
กลุ่ม 1 ความผิดปกติ แต่กำเนิด
กลุ่ม 3 การก่อตัวของเนื้องอก
กลุ่ม 4 ยังไม่แบ่งประเภท (ไม่ใช่ระบุ)
กลุ่ม 2 ความผิดปกติ ของกลไกป้องกันตนเอง
ประโยชน์ซึ่งได้รับจากการศึกษาพยาธิวิทยา คือใช้วิเคราะห์โรคนำไปสู่
เครื่องมือตรวจสอบการเปลี่ยนแปลง (โรค) ทั้ง Anatomical and Functional changes
เครื่องมือตามความรู้เรื่อธรรมชาติของมนุษย์
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส
ความรู้เรื่องธรรมชาติปกติในร่างกายมนุษย์
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและเทคนิคปฏิบัติการต่าง ๆ
สาเหตุการตาย Cause of Death :
ชื่อของโรคความผิดปกติ การบาดเจ็บหรือพิษเป็นผู้นำโดยตรงหรือทางอ้อมสู่ความตาย
คำตอบ สำหรับการดูแลผู้ป่วยคือ
:warning: โรค เริ่มต้น (primary disease)
ทราบตำแหน่ง ต้นตอและที่มาของโรค
:warning: สาเหตุโรค การดำเนินโรค
พิสูจน์ได้ นำไปสู่การป้องกันคนอื่นต่อไป
:warning: พยาธิสภาพจากการดำเนินโรค ทำให้ทราบการเปลี่ยนแปลงรูปร่างชิ้นส่วนอวัยวะ
:warning:อนาคตผู้ป่วยรายนี้จะเป็นอย่างไร ถ้าไม่รักษา, หรือรักษา ผลจะเป็นอย่างไร? เราสามารถนำข้อมูลเหล่านี้มาประมวลผลเข้าด้วยกันใช้ตอบคำถามอนาคตผู้ป่วยนี้ได้