Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคขาดวิตามินบี ๒ (Vitamin B2 Deficiency), สุนัดดา ธรรมาธิกุล รหัส…
โรคขาดวิตามินบี ๒ (Vitamin B2 Deficiency)
สาเหตุและการติดต่อ
ผู้ติดสุรามีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นจากการขาดวิตามินบี 2 (ไรโบฟลาวิน) เนื่องจากปริมาณที่ลดลง, การดูดซึมลดลง, และการใช้ประโยชน์จากไรโบฟลาวินลดลง
Brown’s Syndrome (เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติของกล้ามเนื้อSuperior Oblique muscle)
สตรีมีครรภ์หรือให้นมบุตร
สตรีมีครรภ์หรือให้นมบุตรที่ไม่ค่อยทานเนื้อสัตว์หรือผลิตภัณฑ์นม (เช่นผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศกำลังพัฒนาและมังสวิรัติบางคนในสหรัฐอเมริกา) มีความเสี่ยงต่อการขาด riboflavin ซึ่งอาจส่งผลร้ายต่อสุขภาพของแม่และทารก ยกตัวอย่างเช่นการขาด Riboflavin ในระหว่างตั้งครรภ์สามารถเพิ่มความเสี่ยงของ ภาวะครรภ์เป็นพิษ (preeclampsia)
ผู้ที่รับประทานอาหารมังสวิรัติ
ผู้ที่รับประทานอาหารมังสวิรัติโดยเฉพาะนักกีฬาที่รับประทานอาหารมังสวิรัตซึ่งร่างกายมีแมทาบอลิซึมสูงและมีการใชวิตามินบี 2 มีโอกาสขาด วิตามินบี 2 ได้เนื่องจากมีการงดเนื้อสัตว์ที่ให้วิตามินบี 2
เกิดจากพวกมีโรคประจำเช่น ท้องร่วงเรื้องรัง โรคตับ โรคพิษสุราเรื้อรัง
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย มีอาการชาตามนิ้วมือนิ้วเท้า มีความรู้สึกไวต่อความเจ็บปวดเพิ่มขึ้น
มีอาการท้องผูก เบื่ออาหาร อาหารไม่ย่อย กระเพาะอาหารทำงานได้ไม่ดี
หัวใจเต้นเร็ว
มีอาการแสบตา มุมปากแตก
มีอาการตาแดง น้ำตาไหล
จมูกและหูอักเสบ
ผิวหนังอักเสบ ผิวหนังเป็นจ้ำๆ สีม่วง
นอนไม่หลับ หรือนอนหลับยาก มีผมร่วง
มีภาวะโลหิตจาง ทำให้ร่างกายอ่อนเปลี้ย หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว ผิวซีด ระบบประสาททำงานผิดปกติ เช่น การขาดรีเฟล็กซ์
การรักษา
การรักษาเกี่ยวข้องกับอาหารซึ่งรวมถึงปริมาณของ riboflavin ในปริมาณที่เพียงพอ อาหารเสริมวิตามินและแร่ธาตุมักประกอบด้วย 100% ของมูลค่ารายวัน (1.3 มก.) สำหรับไรโบฟลาวินและสามารถใช้งานได้โดยบุคคลที่เกี่ยวข้องกับอาหารที่ไม่เพียงพอ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ขายตามเคาน์เตอร์มีจำหน่ายในสหรัฐอเมริกาด้วยปริมาณสูงถึง 100 มก. แต่ไม่มีหลักฐานว่าปริมาณสูงเหล่านี้มีประโยชน์เพิ่มเติมสำหรับคนที่มีสุขภาพ
การพยาบาล
1.ประเมินปริมาณการขาดวิตามินบี 2
2.ประเมินความรู้ผู้ป่วยเรื่องการรับประทานวิตามินบี 2 และเรื่องการรับประทานอาหาร
3.ให้วิตามินบี 2 เด็ก รับประทาน 3-10 มิลลิกรัมต่อวัน / ผู้ใหญ่ แบ่งรับประทานไม่เกิน 30 มิลลิกรัมต่อวัน ตามแผนการรักษาของแพทย์
4.ให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหารที่เหมาะสมแก่ผู้ป่วย
5.ให้คำแนะนำเรื่องการรับประทานวิตามินที่เหมาะสมคือ
1.รับประทานตามฉลากหรือตามคำแนะนำจากแพทย์อย่างเคร่งครัด ห้ามรับประทานมากกว่าหรือน้อยกว่าปริมาณที่กำหนด
2.หากลืมรับประทานตามเวลาที่กำหนด ควรรับประทานทันทีที่นึกได้ แต่หากใกล้ถึงเวลาแล้ว ให้ข้ามไปรับประทานครั้งต่อไปได้เลย ห้ามเพิ่มปริมาณเป็น 2 เท่า
3.ควรรับประทานวิตามินบี 2 ร่วมกับมื้ออาหาร
4.เก็บวิตามินบี 2 ไว้ที่อุณหภูมิห้อง หลีกเลี่ยงความชื้นและป้องกันไม่ให้ถูกแสงแดด
6.ประเมินความรู้ผู้ป่วยหลังให้คำแนะนำ
การป้องกัน
1.รับประทานอาหารประเภทเครื่องในสัตว์ เมล็ดธัญพืช ถั่ว เนย ไข่ เนื้อสัตว์ ปลา ผักใบเขียวอย่างเพียงพอและรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
2.การรับประทานสารอาหารให้ได้วิตามินบี 2 ให้เหมาะสมแก่ช่วงอายุ
แรกเกิดถึง 6 เดือน 0.3 มก/วัน
7-12 เดือน 0.4 มก/วัน
1–3 ปี 0.5 มก/วัน
4–8 ปี 0.6 มก/วัน
9–13 ปี 0.9 มก/วัน
14–18 ปี
1.3 มก/วันในเพศชาย 1.0 มก/วันในเพศหญิง
1.4 มก/วันในหญิงตั้งครรภ์ 1.6 มก/วันในหญิงให้นมบุตร
19-50
1.3 มก/วันในเพศชาย 1.1 มก/วันในเพศหญิง
1.4 มก/วันในหญิงตั้งครรภ์ 1.6 มก/วันในหญิงให้นมบุตร
51 ปีขึ้นไป 1.3 มก/วันในเพศชาย 1.1 มก/วันในเพศหญิง
ความหมาย
การขาดวิตามินบี 2 หรือไรโบฟลาววิน ที่ทำให้เกิดความผิดปกติต่างๆ เช่นทางสายตา จะปวดตาเมื่อมีแสงจ้า น้ำตาไหลมาก ตาแดง อาการที่พบบ่อย คือผิวหนังที่มุมปากจะย่น ชื้นและแตก ลิ้นจะแดงน้ำหนักตัวลดลง ไม่ว่องไว การขาดวิตามินบี 2 มักจะควบคู่ไปกับการขาดวิตามินบี 1
สุนัดดา ธรรมาธิกุล รหัส 611001056 เลขที่ 56