Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility) - Coggle Diagram
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility)
ชนิดภาวะมีบุตรยาก
แบบปฐมภูมิ(Primary)
ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ หลังจากที่ได้ พยายามแล้วเป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
แบบทุติยภูมิ(Secondary)
ฝ่ายหญิงเคย ตั้งครรภ์มาก่อนอาจจะสิ้นสุดลงด้วยการแท้ง หรือการ คลอดก็ตาม หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลยเป็น ระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
ความหมาย
การที่คู่สมมรสไมส่ามารถมีการตั้งครรภ์ได้โดยที่มีความสัมพันธ์ทางเพศกันอย่างสม่ำเสมอและ ไมได้คุมกำเนิดมาเป็นระยะเวลา 1 ปี
ระยะเวลา 6 เดือนในกรณีที่คู่สมรสฝ่ายหญิงที่มีอายุเกิน 35 ปีขนึ้ไป
สาเหตุ
ฝ่ายชาย
ปัจจัยทางเพศ (Sexual factors)
หย่อนสมรรถภาพทางเพศ (Electile dysfunction)
ความผิดปกติก่อนวัยอันควร (Premature dysfunction)
อื่นๆ
โรคประจำตัว
สารเคมี
ความผิดปกติของตัวอสุจิ (Sperm dysfunction)
รูปร่างผิดปกติ
มีเคลื่อนไหวน้อย
อสุจิน้อย
ภาวะทางจิตใจ เช่น ความเครียด วิตกกังวล
ฝ่ายหญิง
ท่อนำไข่ผิดปกติ
อื่นๆ
โรคประจำตัว
ความเครียด
การทำงานของรังไข่ผิดปกิ
ความผิดปกติที่ปากมดลูกและมดลูก
ปัจจัยการมีบุตรยาก
ฝ่ายหญิง
ตรวจร่างกาย
ทั่วไป
โรคทางอายุรกรรม
การตรวจต่อมไร้ท่อ (Hypothalamus, Pituitary, Thyroid)
ตรวจเฉพาะ
มดลูก
คอมดลูก ได้แก่ PV ดลูกัษณะทางกายวภิาค ตรวจ มูกคอมดลูก
ตัวมดลูก ได้แก่ PV, Hysterosalpingogram, Endometrium biopsy, Hysteroscopy, U/S
เชิงกาน
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด ได้แก่ PV, Wet smear, Culture
ทอ่นำไข่ ได้แก่ CO2 insufflation หรอื Rubin test , Hysterosalpingogram, Laparoscope
เต้านม
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจฮอร์โมน
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ
PCT (postcoital test)
ตรวจเลือด
ซักประวัติ
การคุมกำเนิด
การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด
การมีเพศสัมพันธ์
ประวัติประจำเดือน
ฝ่ายชาย
ตรวจร่างกาย
รูปร่างอัณฑะ
หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ
ลักษะรูเปิดท่อปัสสาวะ
ตรวจห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือด
ตรวจฮอร์โมน
ตรวจน้ำอสุจิ
ค่าปกติ
ความเป็นกรด-ด่าง (pH) 6-8
จำนวนตัวอสุจิ ต่อ ซีซี (Count/cc.) 20 ล้านตัว/ซีซี หรือมากกว่า
ปริมาณน้ำเชื้อ (Vol) 2 cc. หรือมากกว่า
การเคลื่อนไหว (Motility) 50 % หรือมากกว่า
ลักษณะรูปร่าง (Morphoiogy) 50 % ปกติหรือมากกว่า
การมีชีวิต (Viability) 50 % มีชีวิตหรือมากกว่า
ซักประวัติ
รูปแบบการด าเนินชีวิต ลักษณะนิสัยส่วนตัว (การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์)
การได้รับยา รังสี สารเคมี
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต เช่น โรคคางทูม โรคติดเชื้อทาง เพศสัมพันธ์ โรคเบาหวาน โรคของต่อมไร้ท่อ
การมีเพศสัมพันธ์
การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด
วิธีการช่วยเหลือ
วิทยาการการช่วยเหลือการมีบุตร (assisted reproductive technologies: ART)
GIFT ( Gamete Intrafallopian Transfer)
โดยการนำเอาไข่ออกมาเลือกที่สมบูรณ์แล้ว นำเครื่องมือที่น้ำอสุจิและเซลล์ไข่ใส่เข้าไปใน ท่อนำไข่เพื่อให้มีการผสมและตั้งครรภ์แบบ ธรรมชาติ แต่ในกรณีนี้ต้องไม่มีปัญหาที่ปีก มดลูก
ZIFT (Zygote Intrafallopian Transfer)
คล้ายกับการทำเด็กหลอดแก้ว
แต่ไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้วจะถกู นำมาผสมกันและเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ 1 วันถ้าเห็นว่าเกิดการปฏิสนธิแล้วจะใส่ตัว อ่อนกลับเข้าสู่ฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้องใส่ ไปในท่อนำไข่
IVF ( In Vitro Fertilization)
การปฏิสนธินอกร่างกายและการย้ายตัวอ่อน หรือ ทั่วๆไปเรียกกันว่า เด็กหลอดแก้ว การทำคล้ายกับ GIFTแต่ไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้ว จะถูกนำมาผสมกันเพื่อให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกาย โดยเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ เพื่อให้มีการแบ่งตัวจนเป็นตัวอ่อนในระยะ 4-8 เซลล์ ใช้เวลาเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ ประมาณ 2-5 วัน จากนั้นนำตัวอ่อนที่ได้ใส่เข้าไปใน โพรงมดลูกเพื่อให้มีการเจริญเติบโตต่อไป
Micromanipulation
ICSI (Intracytoplasmic SpermInjection)
ดังนั้นอิ๊กซี่จึงเป็นวิธีที่เหมาะกับผู้ที่มีปัญหาจำนวนอสุจิน้อยมากหรืออสุจิมีโครงสร้าง ผิดปกติมาก
เป็นการนำเชื้ออสุจิเพียงหนึ่งตัวเจาะใส่เข้า Ooplasm โดยตรง
คือ วิธีการรักษาคู่สมรสที่มีบุตรยาก ซึ่งมักจะมีปัญหา ทางด้านเชื้ออสุจิจำนวนน้อยมาก ไม่เคลื่อนไหว เป็นต้น โดยการใช้เข็มเล็กๆเจาะเปลือกไข่ แล้วให้เชื้ออสุจิวิ่งผ่านรูที่ เจาะ หรือการฉีดเชื้ออสุจิเข้าใต้เปลือกไข่ หรือแม้แต่การฉีด เชื้ออสุจิเข้า Ooplasm โดยตรง
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง Intra-uterine insemination (IUI) Artificial insemination
การนำน้ำอสุจิที่ได้รับการคัดแยกมาแลว้ฉีดเข้า ไปในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่ ตัวอสุจิว่ายจาก โพรงมดลูกไปทางท่อนำไข่และผสมกับไข่ด้วย ตัวเองต่อไปแพทย์ใช้ยากระตุ้นให้มีไข่ตกมากกว่า หนึ่งใบเพื่อเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์ให้มากขึ้น
วิธีการนี้ไม่เหมาะกับ
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตันหรือมีพังผืดขวางทางระหว่างไข่กับทางเข้าท่อนำไข่
ท่อนำไข่เสียหายเยื่อบุมดลุกเจริญผิดที่ หรือปัญหา อื่นๆที่ทำให้ไข่ไม่สามารถตกเข้าท่อนำไข่ได้
ผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องน้ำอสุจิ เช่น มีจำนวนน้อย เคลื่อนไหวผิดปกติ หรือมีปัญหาอื่นๆ