Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Peplau ‘s Theory of Interpersonal Relations ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลขอ…
Peplau ‘s Theory of Interpersonal Relations
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพบพลาว
มโนมติหลัก
สิ่งแวดล้อม
ปัจจัยทางด้านกายภาพ จิตใจ และสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และรวมไปถึงบริบทของสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วย
สุขภาพ
เป็นเป้าหมายแรกของการพยาบาล เป็นสัญลักษณ์ที่สื่อถึงการพัฒนาไปข้างหน้าของบุคลิกภาพ และกระบวนการอื่นๆของมนุษย์
บุคคล
ผู้ป่วย
ผู้ป่วยและผู้ที่มีสุขภาพดี สังคมที่ให้การพยาบาลโดยตรง
พยาบาล
สื่อกลางของศิลปะการพยาบาล
การพยาบาล
เครื่องมือในการศึกษาหาความรู้ เพื่อส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าของบุคลิกภาพ
1.สัมพันธภาพระหว่างบุคคล
สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้ป่วย (Nurse – Patient Relationship)้ เป็นหัวใจสำคัญของ การพยาบาล
Working phase
ระยะดำเนินการ
ระยะระบุปัญหา (Identification) ผู้ป่วยรู้จักพยาบาล เริ่มที่จะระบุปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อดำเนินการแก้ไข
ระยะดำเนินการแก้ปัญา (Exploitation)ระยะที่ผู้ป่วยดำเนินการแก้ปัญหาตามแผนการพยาบาล
Resolution Phase
ระยะสรุปผล ระยะที่ทั้งสองฝ่ายสิ้นสุดสัมพันธภาพร่วมกัน เมื่อแผนในการแก้ไขปัญหาทั้งหมดประสบผลสำเร็จ
Orientation phase
ระยะเริ่มต้นในลักษณะคนแปลกหน้า พยาบาลต้องพยายามทำให้ผู้ป่วยไว้วางใจ
สัมพันธภาพระหว่างบุคคลอื่นๆ(Other Relationships) ความสัมพันธ์นอกเหนือจากพยาบาลกับผู้ป่วย
2.การติดต่อสื่อสาร (Communication)
ความชัดเจน
ความต่อเนื่อง
3. แบบแผนการมีปฏิสัมพันธ์
เกิดเมื่อแบบแผนของบุคคลหนึ่งใช้ในการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลหนึ่ง
4. บทบาท
Resource Person
= บทบาทแหล่งสนับสนุน พยาบาลทำหน้าที่ให้ข้อมูลเฉพาะ ซึ่งจะช่วยให้ผู้รับบริการเข้าใจปัญหา
Teacher
= บทบาทครู ให้ความรู้ตามความต้องการหรือความสนใจของผู้รับบริการ
Stranger
= บทบาทคนแปลกหน้า พยาบาลและผู้ป่วยเจอกันครั้งแรก
Leader
= บทบาทผู้นำ โดยการมุ่งสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดระหว่างพยาบาลกับผู้รับบริการให้ดำเนินไปสู้เป้าหมายที่วางไว้
Surrogate
= บทบาทในการทำหน้าที่ทดแทน เช่น แม่ เพื่อให้ผู้ป่วยเชื่อมโยงกับบุคคลในชีวิต
Counselor
= ผู้ให้การปรึกษา โดยการรับฟังผู้ป่วยระบายความรู้สึกช่วยให้เข้าใจปัญหาและสถานการณ์ปัจจบันและสามารถแก้ปัญหาได้
5. ความคิด
Preconceptions
คือ ความคิดที่มีมาก่อนการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้ป่วยกับพยาบาล
Self – understanding
คือ การเข้าใจตนเอง ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับพยาบาลเพื่อให้การ พยาบาลต้องตระหนักรู้และเข้าใจหน้าที่ของตนเอง
6.การเรียนรู้
กระบวนการที่ไม่หยุดนิ่ง
เพื่อส่งเสริมการเปลี่ยนแปลง
เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหา
ให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้เพื่อนำไป อธิบายเหตุการณ์ต่างๆ
7. สมรรถนะ
ทักษะที่ถูกพัฒนาขึ้น
8. ความวิตกกังวล
เกิดจากภายในหรือเกิดจากภายนอก ซึ่งสิ่งที่จะมากระตุ้นได้จะต้องคุกคามความเป็น ตัวตนของบุคคล
แนวคิดที่สำคัญ
แนวคิดที่สำคัญ
นางสาวมลิวรรณ ไชยวงษ์ UDA6280020