Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีสิ่งแวดล้อมของไนติงเกล, การพัฒนาทฤษฎี, ประวัติมิสไนติงเกล,…
ทฤษฎีสิ่งแวดล้อมของไนติงเกล
เป็นเด็กสาวปัญญาเลิศ ต้องการทำประโยชน์ให้เพื่อนมนุษย์มากที่สุด
ให้ความสำคัญต่อสุขาภิบาล
เป็นพยาบาลอาสาในสงครามไครเมีย
ปรับปรุงสภาพสิ่งแวดล้อม จนการตายของทหารที่ติดเชื้อลดลง
ได้รับสมญานามว่า The Lady Of The Lamp
มีทฤษฎีการพยาบาลฉบับแรก ในหนังสือ Note on nursing ปี 1859
ใช้พื้นฐานทฤษฎีความเครียด การปรับตัวและความต้องการ
สมัยไนติงเกล ไม่มีวิทยาศาสตร์
ขึ้นอยู่กับ การใช้เหตุผล และสามัญสำนึก
กำหนดมโนมติที่เกี่ยวข้องในทฤษฎีอย่างเด่นชัด
อธิบายถึงความสัมพันธ์ มนุษย์และสิ่งแวดล้อม
ภาวะสุขภาพและมนุษย์
มนุษย์
ผู้ป่วยที่มารับการรักษา
สามารถฟื้นคืนสภาพได้ดีถ้ามีสิ่งแวดล้อมดี
ภาวะสุขภาพ
ควบคุมปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
ป้องกันการเกิดโรค
มุ่งเน้นสุขภาพ
ภาวะสุขภาพและมนุษย์แยกออกจากกันไม่ได้
การพยาบาล
กิจกรรมการให้การพยาบาล
การทำแผล
การทำอาหาร
การให้ยา
การจัดสิ่งแวดล้อม
สะอาด
เงียบ
แสงสว่างเพียงพอ
วัตถุประสงค์หลัก
จัดผู้ป่วยอยู่สภาพดีที่สุด
ให้เกิดการเยียวยาโดยธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม
อากาศบริสุทธิ์
น้ำบริสุทธิ์
ระบบขจัดน้ำโสโครกมีประสิทธิภาพ
ความสะอาด
การรับแสงสว่างอย่างเพียงพอ
สมัยไนติงเกล กระบวนการพยาบาลยังไม่เด่นชัด
หลักปฏิบัติการที่ยังใช้ในปัจจุบัน
การสังเกตอย่างถี่ถ้วน
มีเหตุผล
การใช้สามัญสำนึก
มุ่งเน้นการจัดสิ่งแวดล้อม เป็นไปอย่างมีคุณภาพ
เห็นความแตกต่างระหว่างการพยาบาล
และการแพทย์
พยาบาลมีหน้าที่ส่งเสริมสนับสนุน
กระบวนการหายจากโรค
ขั้นตอนการวินิจฉัยทางการพยาบาล
เน้นความต้องการของผู้ป่วย
ระดับพลังชีวิตที่ได้รับผลกระทบจากสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนการปฏิบัติการพยาบาล
ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการพยาบาลและสิ่งแวดล้อม
สอดคล้องการทำงานของผู้ป่วย
ขั้นตอนการวางแผนการพยาบาล
ยึดหลักการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
การสื่่อสารกับผู้ป่วยเผื่อวางแผนร่วมกัน
ขั้นตอนการประเมินผล
ประเมินผลจากผลที่เกิดขึ้นในตัวผู้ป่วย
ที่สืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
ใช้หลักการสังเกต
อาหารและเครื่องดื่ม
อาหารเหมาะกับผู้ป่วยหรือไม่
อาหารมีคุณค่าสารอาหารเพียงพอหรือไม่
ช่วงเวลาที่ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้
น้ำชาการแฟ มีผลต่อการนอนของผู้ป่วยหรือไม่
อาหารแบบใดที่ผู้ป่วยชอบ
ระดับความวิตกกังวลหรือความตื่นตัว
พยาบาลต้องตอบสนองอาการวิตกกังวลของผู้ป่วยเต็มที่หรือไม่
การสื่อสารทที่ตรงไปตรงมาหรือไม่
ญาติผู้ป่วยมีความหวังอย่างไร
ผู้ป่วยมีพฤติกรรมความวิตกกังวลอย่างไร
การส่งเสียงดังหรือไม่
อากาศถ่ายเทหรือไม่
ภายในห้องผู้ป่วยไม่ร้อนจนเกินไปหรือไม่
มีแสงสว่างเพียงพอหรือไม่
มีบริการน้ำสะอาดหรือไม่
สิ่งแวดล้อมสะอาดปราศจากภัยอันตรายหรือไม่ :
ผลของความเจ็บป่วยต่อภาวะจิตใจ
พฤติกรรมเมื่อมีไข้เป็นอย่างไร
ผู้ป่วยมีปฏิกิริยาต่อความเจ็บปวดอย่างไร
การพัฒนาทฤษฎี
ประวัติมิสไนติงเกล
มโนมติที่สำคัญ
การประยุกต์ทฤษฎีกับกระบวนการพยาบาล
ขั้นตอนของบวนการพยาบาล
ตามทฤษฎีของไนติงเกล
ขั้นตอนการประเมินผล
สภาพและผลของสิ่งแวดล้อม
ทางกายภาพของผู้ป่วย