Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มี ปัญหาระบบทางเดินหายใจ, นายพูลศักดิ์ ดวนดี No.…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มี
ปัญหาระบบทางเดินหายใจ
1.การตรวจร่างกายระบบหายใจในเด็ก
ดู
ดูลักษณะของผนังทรวงอก ได้แก่ การดูการขยายตัวของทรวงอกขณะหายใจเข้า ว่าเท่ากันทั้ง 2 ข้างดีหรือไม่ มีความผิดปกติของผนังทรวงอกหรือไม่ ที่พักบ่อยได้แก่ กระดูก Sternal ส่วนหน้าเว้าเข้าหาสปาย เรียกว่า Pectus Excarvatum กระดูกSternalSternalส่วนล่างยื่นออกเรียกว่าPectus carvatum หรือความผิดปกติของกระดูกสันหลังคดที่ เรียกว่า scoliosis ความผิดปกติเหล่านี้มักเป็นความพิการแต่กำเนิด
การนับอัตราการหายใจ
อัตราการหายใจอาจเพิ่มขึ้นได้ ในขณะที่ผู้ป่วย มีไข้ ร้องไห้ ออกกำลังกายหรือมีความวิตกกังวล จึงควรนับในขณะที่ผู้ป่วยนอนหลับหรือพักอยู่นิ่งๆ ให้นัดมาอย่างน้อย ครึ่งถึง 1 นาที
ดูว่าผู้ป่วยมีสีผิวคล้ำ จากการขาดออกซิเจนหรือไม่ ถ้าเป็น Central cyanosis สังเกตได้จาก ริมฝีปากเขียวครั้ง ถ้าเป็นอาการเขียวส่วนปลายหรือPeripheral cyanosis จะเห็นว่าปลายมือ ปลายเท้าเขียว แต่ริมฝีปากสีอาจมีสีแดงปกติ
ดูนิ้วปุ้มหรือ ( Clubbing of finger สังเกตได้ทั้งที่นิ้วมือและนิ้วเท้า ถ้ามีเลี้ยงปุ้มแสดงว่าผู้ป่วยมีภาวะขาดออกซิเจนมาเป็นเวลานาน ซึ่งอาจเป็นจาก โรคปอดเรื้อรัง โรคหัวใจ หรือโรคตับเรื้อรัง ก็ได้ การสังเกตและเปรียบเทียบ enteroposterier หรือ AP diameter :Lateral=1:2
ดูว่ามีอาการหายใจลำบากหรือDyspnea
ในภาวะหายใจลำบากจะมี shest wall retraction หรือหน้าอกบุ๋ม ในขณะที่หายใจเข้าที่เห็นได้ชัดคือบริเวณ Suparsternal , intercostal, retraction
ฟัง
การจับstethoscope
1.ใช้นิ้วชี้กับนิ้วกลางครีบตรงตำแหน่งของ Bell เอาไว้แล้วใช้นิ้วโป้งคล้องเพื่อที่จะจับสายของstethoscope ทำให้เวลาที่เราฟังstethoscope ไม่ให้ก่อเกิดสิ่งรบกวนกับเสียง
2.เด็กเล็กๆก็จับstethoscopestethoscopeจับด้วยท่านี้ แล้วใช้มือที่เหลือประครองเอาไว้ไม่ให้ก่อให้เกิดเสียงที่มารบกวนเสียงที่ได้ยิน
2. การพ่นยาและSuction
วัตถุประสงค์ของการดูดเสมหะ
1.ป้องกันสิ่งอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน
2.ขับเสมหะออกจากทางเดินหายใจส่วน
3.กระตุ้นการไอเพื่อขับเสมหะ
4.ป้องกันการสำลักสิ่งแปลกปลอมเข้าปอด
ข้อบ่งชี้ในการดูดเสมหะ
1.ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงเสมหะหรือมีเสียงครืดคราดในคอ
2.ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยหายใจลำบากอัตราการหายใจเร็ว
3.การไอไม่มีประสิทธิภาพในการขับเสมหะออก ควรทำการดูดเสมหะเมื่อกระเพาะอาหารว่างซึ่งอาจเป็นเวลาก่อนอาหารหรือหลังอาหารนานกว่า 30 นาทีหรือ 1 ชั่วโมง เพื่อลดภาวะเสี่ยงจากการสำลักอาเจียน
อุปกรณ์
1.เครื่องดูดเสมหะปรับระดับความดันลดตามความเหมาะสม เด็กเล็กประมาณ 60 ถึง 100 mmhg เด็กโตประมาณ 100 ถึง 120 มิลลิเมตรปรอท
2.ใดดูดเสมหะขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกินครึ่งหนึ่งของทางเดินหายใจของเด็ก ทารกใช้ขนาดเบอร์ 5 6 Fr เด็กเล็กขนาดเบอร์ 6 8 Fr เด็กโต ขนาดเบอร์ 8 10 Fr
3.ถุงมือสะอาดและถุงมือปราศจากเชื้อ
finger tip หรือ Y tube
Stethoscope เพื่อฟังเสียงเสมหะ
การดูดเสมหะทางท่อผ่านหลอดลมคอ
1.ปลดท่อผ่านหลอดลมคอออกจากเครื่องช่วยหายใจและ hyperventilation โดยการบีบ self inflating bag 3 5 ครั้งก่อนและหลังดูดเสมหะวัดความลึกของสายดูดเสมหะ
2.ความลึกของท่อผ่านหลอดลมคอ + ความยาวของท่อจากมุมปากถึงปลาย slip joint
3.ดูดเสมหะซ้ำจนกว่าทางเดินหายใจโล่งและประเมินโดยใช้หูฟังเปรียบเทียบเสียงลมเข้าออกจากปอดทั้ง 2 ข้างจากนั้นทำเช่นเดียวกับการดูดเสมหะในจมูกและปาก
3. การจัดท่าระบายเสมหะและเคาะปอด
การสังเกตอาการว่าลูกมีเสมหะหรือไม่
1.มีน้ำมูกในจมูก หรือไอมีเสมหะในลำคอ
2.หายใจครืดคราด หรือเมื่อเอามือวางบนหน้าอกและบริเวณหลังของเด็กจะรู้สึกว่ามีเสียงครืดคราดใต้ฝ่ามือ
3.มีอาการกระสับกระส่าย
4.หายใจลำบาก จมูกบานเวลาหายใจหรือหายใจเร็วผิดปกติ
5.ดูดนมได้ไม่ดี
6.ริมฝีปากซีด หรือมีสีเขียวคล้ำ
การเคาะปอดเป็นการระบายเสมหะ โดยอาศัยแรงสั่นจากฝ่ามือที่เคาะกระทบกับผนังทรวงอก ทำให้เสมหะในปอดเลือดหลุดออกมาได้ง่ายยิ่งขึ้น
ข้อควรระวังในการเคาะปอด
1เด็กบ่นปวดบริเวณที่เคาะด้วยร่วมกับการสังเกตความผิดปกติอื่นๆ เช่น เด็กเริ่มมีอาการหอบเหนื่อยมากขึ้น ริมฝีปากซีดคลำ หายใจจมูกบาน เด็กร้องไห้งอแงในขณะเคาะมากกว่าปกติ
2.ควรเคาะขณะท้องว่าง หรือหลังมื้ออาหารหรือนมอย่างน้อย 2-3ชั่วโมง
3.ระวังการเคาะปอดที่รุนแรงเกินไป โดยเฉพาะในเด็กอายุน้อยกว่า 8 เดือน ควรใช้ผ้ารองบริเวณที่เคาะของทุกครั้ง
4.สำหรับทารกที่คลอดก่อนกำหนด ที่อายุครรภ์น้อยกว่า 28 สัปดาห์ หรือน้ำหนักต่ำกว่า 800 กรัม ควรระมัดระวังการขอเป็นพิเศษ เนื่องจากการทำงานของปอดยังไม่สมบูรณ์ และในขณะคอร์ดควรประครองศีรษะเด็กตลอดเวลา
ข้อห้ามในการเคาะปอด
1.ไม่เคาะในเด็กที่อายุต่ำกว่า 1 เดือน
2.เด็กได้รับการกระแทก มีภาวะกระดูกหัก หรือมีแผลเปิดบริเวณทรวงอก
3.เด็กมีอาการหอบเหนื่อยอย่างรุนแรง ตัวเขียวมีปัญหาของระบบหายใจที่อาการยังไม่คงที่
4.เด็กที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเลือดออกง่าย เช่น อาจพบรอยช้ำ หรือเลือดตามร่างกาย
5.เด็กที่มีภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ
6.เด็กที่มีไข้สูงมากกว่า 38 องศาเซลเซียส
การเคาะปอดที่มีประสิทธิภาพต้องทำ
การจัดท่าระบายเสมหะ
1.เป็นการจัดเพื่ออาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก ทำให้เสมหะเคลื่อนที่จากหลอดลมส่วนปลายเข้าสู่หลอกลมส่วนต้น เมื่อเด็กไอ เสมหะก็จะเคลื่อนที่ออกมาได้ง่ายขึ้น
2.การจัดท่าระบายเสมหะ ควรสัมพันธ์กับการประเมินเบื้องต้นว่าเด็กมีเสมหะบริเวณใด จึงทำการเคาะปอด ร่วมกับการจัดท่าระบายเสมหะที่เหมาะสม เช่น หากเสมหะอยู่บริเวณทรวงอกด้านหน้าควรจัดท่าให้เด็กนอนหงาย และเคาะปอดทางด้านหน้า โดยมีขอบเขตบริเวณใต้กระดูกไหปลาร้าจนถึงราวนมและหากเสมหะอยู่ทางด้านหลังจะให้อุ้มเด็กพาดบ่า เพื่อเปิดปอดบริเวณด้านหลังและทำการเคาะปอดทางด้านหลัง โดยมีขอบเขตไม่เกิน 1 ฝ่ามือของผู้ปกครอง แต่หากเสมหะอยู่ทางด้านข้าง เช่น มีเสียงครืดคราดบริเวณทรวงอกด้านซ้าย ควรจัดท่าให้เด็กนอนตะแคงทับด้านขวา เพื่อให้เสมหะระบายได้ง่ายขึ้น และจึงทำการเคาะปอด โดยมีขอบเขตบริเวณใต้รักแร้จนถึงชายโครง ภายหลังการเคาะปอดควรจัดท่าให้อยู่ในท่านั่ง เพื่อเพิ่มการระบายอากาศของปอด
ทราบได้อย่างไรว่าเด็กอาการดีขึ้น
1.หายใจสะดวกขึ้น
ไอลดลง
เสียงครืดคราดลดลง
4.หลับได้นานขึ้น
นายพูลศักดิ์ ดวนดี
No. 94 ID. 602101099 ปี2B