Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพ ในการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ…
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพ ในการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ที่มีปัญหาระบบผิวหนังและภูมิคุ้มกัน
หน้าที่ของผิวหนัง
ป้องกันอวัยวะภายใน
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ในระดับปกติ
ขับถ่ายของเสียออกจากต่อมเหงื่อออกทางรูเหงื่อ
ขับน้ามันออกจากต่อมไขมันออกทางรูขน
เป็นแหล่งสร้างวิตามินดีให้แก่ร่างกาย
รับความรู้สึกโดยมีปลายประสาท
ความผิดปกติของผิวหนังที่พบบ่อย
1.ผิวหนังขาดน้้ำ
กระหายน้ำ
ง่วงซึม อ่อนเพลีย
ผิวแห้ง ตาแห้ง ปากแห้ง
ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ
ท้องผูก
มึนหัว วิงเวียน ปวดศีรษะ
ผิวหนังบวมน้ำ
ผิวหนังตึงและมีความมันวาว
ผิวหนังเป็นรอยบุ๋มหากถูกกดหรือจิ้มค้างไว้ประมาณ 5 วินาที
ช่วงท้องมีขนาดใหญ่ขึ้น
เนื้อเยื่อใต้ผิวหนังบวมและโป่ง โดยเฉพาะบริเวณขาและแขน
โรคราที่เท้าหรือโรคฮ่องกงฟุต
เกิดจากเชื้อราที่เท้า เนื่องจากรองเท้าอับชื้น หรือลุยน้าสกปรก ทาให้เกิดอาการคันที่ซอกนิ้วเท้า
การป้องกันล้างเท้าให้สะอาดเช็ดให้แห้ง
ผิวหนังแห้งกร้าน
เกิดจากอากาศหนาวจัดหรืออากาศแห้งมาก การฟอกสบู่บางชนิดผิวหนังไม่อาจรักษาความชื้นไว้ได้จึงแห้ง เป็นขุยและแตกอย่างรุนแรง
การป้องกัน หลีกเลี่ยงสถานที่หนาวจัด ร้อนจัด และสวมใส่เสื้อ ผ้าที่ให้หนังแห้งและแตกมากขึ้น ควรใช้น้ามันหรือครีมทาผิว
เกลื้อน
เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อราชนิดหนึ่ง
พบมากในผู้ที่ประกอบอาชีพที่อยู่ในอุณหภูมิสูงมีเหงื่อออกมาก มีความชื้นสูง
การป้องกันและรักษา
อาบน้าและเช็ดตัวให้แห้ง อยู่เสมอใช้ขี้ผึ้งรักษากลากเกลื้อน
6.กลาก
เป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่งที่เกิดจากเชื้อ ราหลายชนิดมีอาการคันบ้างแต่ไม่มากนัก และติดต่อสู่ผู้อื่นได้
ฝี
เกิดจากเชื้อ แบคทีเรียทาให้เกิดการอักเสบที่บริเวณรอบ ๆ ขุมขน ต่อมเหงื่อ ต่อมไขมัน หรือทางรากผม
การป้องกันและรักษา
อาบน้้ำอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง และรักษาผิวหนังให้สะอาดอยู่เสมอไม่ใช้เล็บหรือมือที่สกปรกแกะ เกา ผิวหนัง หากเป็นฝีห้ามบีบ
สังคัง
เป็นโรคเชื้อ รากับอวัยวะเพศหรืออาจจะพูดได้ว่า สังคังคือกลากที่ขาหนีบ
อาการของสังคังที่เห็นได้เด่นชัด
คือ อาการคันอย่างรุนแรงบริเวณที่เป็น (ขาหนีบ)
สาเหตุของสังคัง
เกิดจากการได้รับเชื้อราและอากาศชื้น เหงื่อ ออกตามร่างกายเชื้อลุกลามต่อไปเป็นวงกว้าง
วิธีป้องกันและรักษาสังคัง
ให้รีบไปหาหมอเพื่อทาการรักษา ไม่ว่าจะเป็นการใช้ยากินหรือยาทาที่ได้รับมาจากหมอ ให้ใช้ยานั้นอย่างต่อเนื่องตามที่หมอสั่ง อย่างเคร่งครัด
ลักษณะผิวหนังปกติ ในผู้สูงอายุ
ปัญหาระบบผิวหนังที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ผิวหนังเป็นตุ่มเป็นก้อน
อาการคัน
.3. การตกกระผิวเปลี่ยนสี ในผู้สูงอายุ
ผิวหนังอักเสบจากการแพ้ยา
การอักเสบของผิวหนัง
แผลกดทับ
การดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาที่พบบ่อย ระบบผิวหนัง
การดูแลผิวหนัง ที่แห้ง เป็นขุย
ไม่ควรอาบน้าบ่อยจนเกินไปและควรใช้สบู่เท่าที่จ าเป็นควรใช้สบู่ที่ม ีครีมเป็นส่วนผสม
ใช้ครีมเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับผิวเพื่อป้องกันการแห้งกร้านเป็นขุยหลังจากอาบน้าเช้าเย็น
ถ้ามีอาการคันไม่ควรเกาหรือแก
ห้ามใช้โลชั่นคาลามายด์ทาผิวเมื่อมีอาการคันเพราะมีส่วนผสมของแอลกอฮอล์
การดูแลผิวหนังเป็นตุ่ม ก้อน
หลีกเลี่ยงการถูกสิ่งระคายเคืองไม่ควรตากแดดเป็นเวลานาน
ควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านผิวหนังเพื่อให้วิธีที่รักษาและดูแลผิวหนังผู้สูงอายุอย่างถูกต้อง
การดูแลผิวที่เปลี่ยนสี
หลีกเลี่ยงที่ๆ มีแสงแดดแรงใส่เสื่อปกคลุมผิวหนังเมื่อจาเป็นต้องออกไปสู่แสงแดดห
การดูแลผิวหนังอักเสบจากการแพ้ยา
ให้สังเกตว่าผิวหนังของผู้สูงอายุที่อักเสบเกิดจากสาเหตุใดหลีกเลี่ยงสิ่งที่เป็นสาเหตุ
ถ้ารุนแรงให้ไปพบแพทย์เพื่อทาการรักษาอย่างถูกวิธี
การดูแลผิวหนังอักเสบ ผิวหนังย่น เหี่ยว หย่อนยาน
ผิวหนังของผู้สูงอายุสามารถฉีกขาดง่าย จึงควรระวังการถูกกระทบกระแทรกด้วยของแข็งของมีคม หลีกเลี่ยงการแกะเก
การดูแลผู้ที่ม ีปัญหาแผลกดทับ
ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้อง
1.การไม่เคลื่อนที่ หรือการเคลื่อนไหวลดลง
2.การรับรู้ความความรู้สึกทางผิดหนังลดลงจนถึงไม่มีความรู้สึก
3.ภาวะโภชนาการไม่ดี น้าหนักตัวลดลง
4.ผิวแห้ง เคยเป็นแผลกดทับมาก่อน
5.อายุมากและผู้สูงอายุที่หง่อม
6.มีปัญหาของระบบประสาท เช่น อัมพฤก อัมพาต
การดูแลผู้ที่ม ีปัญหาแผลกดทับ
ประเมินผิวหนังทุกวัน
ใช้โลชั่นทาผิวให้ชุ่มชื้นในผู้สูงอายุที่ผิวแห้ง
ไม่ถูนวดปุ่มกระดูก ใช้สารหล่อลื่น เช่น วาสลิน ทา
ใช้เทคนิคการยกที่เหมาะสมหรือใช้อุปกรณ์ช่วยยก
พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชม.
จัดหัวต่าเพื่อลดแรงเฉือน
จัดการความเปียกชื้
ดูแลจัดอาหารส่งเสริมความแข็งแรงของผิวหนัง ดูแลรับประทานอาหารตามที่โภชนาการจัดให้
จัดน้าดื่มให้ตามตารางพลิกตัวหรือจัดท่า
ภูมิคุ้มกันร่างกาย แบ่งเป็น 2 ระบบ
1ระบบภูมิคุ้มกันโดยกำเนิด
ทำหน้าที่ป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกายโดยตรง ป้องกันและกำจัดสิ่งแปลกปลอมออกจากร่างกาย โดยเฉพาะเชื้อโรค
2 ระบบภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นภายหลัง
เชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ด่านแรก เช่น ผิวหนัง หรือใต้เยื่อบุได้แล้ว เซลล์ต่างๆ ของระบบภูมิคุ้มกัน จะผลิตภูมิต้านทานเพื่อจำกัดสิ่งแปลกปลอมออกจากร่างกาย โดยอาจใช้เวลา 2-3 วันในการผลิตภูมิต้านทาน
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันร่างกายที่พบบ่อย
โรคภูมิแพ้
โรคที่เกิดจากปฏิกิริยาตอบสนองที่ม ีปฏิกิริยาภูมิไวเกินกว่าปกติของร่างกายต่อสิ่ง
แปลกปลอมโดยโรคภูมิแพ้จะสามารถแบ่งตามอวัยวะที่เกิดโรคได้เป็น 4 โรค
-โรคโพรงจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ หรือเรียกว่า โรคแพ้อากาศ ซึ่งเป็นโรคภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นบริเวณโพรงจมูก
-โรคตาอักเสบจากภูมิแพ้ ซึ่งเป็นโรคภูมิแพ้ที่เกิดบริเวณดวงตา
-โรคหอบหืด ซึ่งเป็นโรคภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นบริเวณหลอดลม
-โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง ซึ่งเป็นโรคภูมิแพ้ที่เกิดขึ้น
บริเวณผิวหนัง
การดูแลป้องกัน
1.หลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้
2.แนะนาการใช้ยาอย่างสม่าเสมอตามคาแนะนาของแพทย์
3.การดูแลตนเองให้มีสุขภาพกายและใจที่แข็งแรงอยู่เสมอ
หลีกเลี่ยงสภาพแวดล้อมที่อาจกระตุ้นให้มีอาการของโรคมากขึ้น
เช่น ควันบุหรี่ ควันจากท่อไอเสียรถยนต์
อาการ/อาการแสดง
ผื่นแดงที่ใบหน้า โหนกแก้ม
ผื่นเป็นวง
ข้ออักเสบชนิดหลายข้อ
แผลในปาก
อาการแพ้แสง
การอักเสบของเยื่อบุต่าง ๆ เช่น เยื่อหุ้มปอดอักเสบ เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
อาการที่แสดงออกในระบบเลือด
อาการที่แสดงออกในระบบประสาท เช่น ชัก ซึม
อาการที่แสดงออกในระบบไต
การตรวจเลือดให้ผลบวกต่อแอนติบอดีด้านนิวเคลียส
การตรวจเลือดให้ผลบวกต่อสารต้านดีเอ็นเอเซลล์แอลอี และสารต้านเอสเอ็ม
การรักษา
ยาสเตรียรอยด์
ผลข้างเคียง กดภูมิทาให้ภูมิต้านทานต่า ทาให้ติดเชื้อได้
ผิวหนังบาง
การดูแล
หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารหรือสิ่งแวดล้อมที่อาจกระตุ้นความรุนแรงของโรคได้
ดูแลแนะนาใส่เสื้อผ้าเลี่ยงแสงแดด
ดูแลติดตามไข้ วัดอุณหภูมิทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลสุขอนามัย เพื่อป้องกันการติดเชื้
โรคภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือโรคเอดส์
โรคภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือโรคเอดส์ เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี
โรคเอดส์เป็นระยะสุดท้ายของการติดเชื้อเอชไอวี
การติดเชื้อเอชไอวี 3 ระยะ
ระยะเฉียบพลันเป็นระยะแรกของการ
ติดเชื้อเอชไอวี เกิดขึ้นระหว่าง 2-4 สัปดาห์หลังจากติดเชื้
ระยะสงบทางคลินิกเป็นระยะที่เชื้อไวรัสอยู่ในร่างกายโดยไม่แสดงอาการใดๆ หรือระยะติดเชื้อเรื้อรัง
ระยะสุดท้ายคือ ระยะโรคเอดส์ (AIDS) เป็นระยะที่การติดเชื้อเอชไอวีได้พัฒนาเป็นโรคเอดส์
อาการของโรคเอดส์
ปอดอักเสบ
สูญเสียความจา อาการซึมเศร้าและอาการทางระบบประสาทอื่นๆ
ท้องเสียเรื้อรังนานกว่าหนึ่งสัปดาห์
เหนื่อยผิดปกติ
อาการไข้ที่กลับมาเป็นซ้าๆ
เหงื่อออกตอนกลางคืน
น้าหนักลดอย่างรวดเร็ว
มีผื่นตามผิวหนัง ในช่องปาก จมูกและเปลือกตา
แผลที่ริมฝีปาก อวัยวะเพศและทวารหนัก
อาการบวมที่ต่อมน้าเหลืองบริเวณคอ รักแร้และขาหนีบ
อาการของโรคเอดส์อาจเป็นอาการของโรคอื่นที่ไม่ใช่โรคเอดส์ก็ได้
การดูแลตนเองสำหรับผู้ติดเชื้อ
ทานอาหาร5หมู่
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
พักผ่อนให้เพียงพอ
การป้องกันตนเองสำหรับบุคคลทั่วไป
ใส่ถุงยางอนามัย
ไม่สัมผัสสารคัดหลั่ง
ไม่ใช้เข็มร่วมกัน
การดูแลผู้ที่ติดเชื้อ
ดูแลทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม
แนะนาการดูแลตนเอง ด้านร่างกาย
ดูแลให้กาลังใจ และความรู้ในการปฏิบัติตัว
หากอยู่ในหอผู้ป่วยเตรียมอุปกรณ์ในการป้องกันการติดเชื้อ เช่น ถังขยะติดเชื้อ ถุงมือ