Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาระ…
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาระบบผิวหนังและภูมิคุ้มกัน
โครงสร้างของผิวหนัง
หนังกำพร้าต่อมไขมันหนังแท้ต่อมเหงื่อ
หน้าที่ของผิวหนัง
ป้องกันอวัยวะภายในเป็นหน้าที่ที่สำคัญที่สุด
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ในระดับปกติ
ขับถ่ายของเสียออกจากต่อมเหงื่อออกทางรูเหงื่อกำจัดของเสียและระบายความร้อนออกจากร่างกาย
ขับน้ำมันออกจากต่อมไขมันทางรูขน
เป็นแหล่งสร้างวิตามินดีให้แก่ร่างกาย
รับความรู้สึกโดยมีปลายประสาทรับรู้ความรู้สึกต่างๆ
ระบบภูมิคุ้มกัน
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันร่างกายที่พบบ่อย
โรคภูมิแพ้
ปฏิกิริยาภูมิไวต่อฝุ่น เชื้อราในอากาศอาหารขนสัตว์และเกสรดอกไม้
การดูแลป้องกัน
หลีกเลี่ยงปัจจัยที่ทำให้โรคกำเริบ
ใช้ยาแก้แพ้
ทาโลชั่นมอยส์เจอไรเซอร์
ทานยาลดการอักเสบของผื่น
ใช้ยาปฏิชีวนะการรักษาอื่น
SLE
อาการ
อาการ 4 ข้อใน 11 ข้อมือถือว่าเป็นโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตนเอง
ผื่นแดงที่ใบหน้าโหนกแก้มสันจมูกรูปผีเสื้อ
ผื่นเป็นวง
ข้ออักเสบหลายชนิดมักเกิดกับข้อต่อทั้งสองข้างเหมือนกัน
แผลในปาก
การแพ้แสง
การอักเสบของเยื่อบุต่างๆเช่นเยื่อปอดอักเสบ
อาการที่แสดงออกในระบบเลือดเช่นอาการซีดเนื่องจากเม็ดเลือดแดงแตก
แสดงออกในระบบประสาทเช่นชักซึม
ระบบไตเช่นลักษณะความผิดปกติของปัสสาวะมีโปรตีนในปัสสาวะ
ตรวจเลือดให้ผลลบต่อแอนติบอดีด้านนิวเคลียส
ตรวจเลือดให้ผลบวกต่อสารต้านดีเอ็นเอเซลล์แอลอี สารต้านเอสเอ็ม
การรักษาดูแล
ยาสตรีรอย
หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดการกระตุ้นความรุนแรง
ใส่เสื้อผ้าเลี่ยงแสงแดด
วัดอุณหภูมิทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลสุขอนามัยป้องกันการติดเชื้อ
โรคภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือโรคเอดส์
อาการ
ปอดอักเสบ
สูญเสียความจำ ซึมเศร้า
ท้องเสียเรื้อรังนานกว่า 1 สัปดาห์
เหนื่อยผิดปกติ
อาการไข้ที่กลับมาเป็นซ้ำ
เหงื่อออกตอนกลางคืน
น้ำหนักลดอย่างรวดเร็ว
มีผื่นตามผิวหนังในช่องปากจมูกและเปลือกตา
แผลที่ริมฝีปากอวัยวะเพศและทวารหนัก
อาการบวมที่ต่อมน้ำเหลือง
ควรตรวจเลือดหาเชื้อ HIV
การดูแลผู้ที่ติดเชื้อ
ดูแลทั้งร่างกายจิตใจอารมณ์และสังคม
แนะนำการดูแลตนเองด้านร่างกาย
ดูแลให้กำลังใจความรู้ในการปฏิบัติตัว
ในหอผู้ป่วยเตรียมอุปกรณ์ในการป้องกันการติดเชื้อเช่นถังขยะติดเชื้อถุงมือ
ความผิดปกติของผิวหนังที่พบบ่อย
ผิวหนังขาดน้ำ
อาการต่างๆที่เกิดจากภาวะขาดน้ำ
ปากลอก ตาคล้ำเหี่ยว ผิวหนังหย่อนคล้อย
ผิวหนังบวมน้ำ
ขาบวม กดแล้วบุ๋ม
โรคราที่เท้าหรือโรคฮ่องกงฟุต
อับชื้น ลุยน้ําสกปรก
คันที่ซอกนิ้วเท้า
การป้องกันการทำให้สะอาดเช็ดให้แห้ง
ปรึกษาแพทย์
กลาก
เชื้อราหลายชนิด
ขึ้นทั่วไปมีลักษณะต่างๆกันตามตำแหน่งของผิวหนังที่เป็น
ศีรษะ ลำตัว ขาหนีบ ก้น
อาการทั่วไป
ผื่นแดงที่ผิวหนัง
จุดเล็กๆวงเดียวหรือสองสามวงติดกันเป็นวงใหญ่
ติดต่อสู่ผู้อื่นได้
ผิวหนังแห้งกร้าน
เกิดจากสภาพแวดล้อมภายนอกผิดปกติ
อากาศหนาวจัดอากาศแห้งมาก
การฟอกสบู่บางชนิด
การป้องกัน
ให้หลีกเลี่ยงสถานที่ที่มีอากาศเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
สวมใส่เสื้อผ้าที่เหมาะสม
ใช้น้ำมันหรือครีมทาผิวเพื่อรักษาความชุ่มชื้นของผิวหนัง
เกลื้อน
พบมากในอาชีพที่มีเหงื่อออกมาก
เช่นนักกีฬาตำรวจจราจรผู้ใช้แรงงาน
ลักษณะ
ผิวหนังเป็นปื้นๆ มีขนาดต่างกัน
สีค่อนข้างแดงน้ำตาลขาวซีดอาจมีสะเก็ด
ฝี
เชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่ง
เกิดการอักเสบที่บริเวณรอบๆขุมขนอุดตันไขมัน
มีลักษณะบวมแดงแข็งและร้อนบริเวณที่เป็น
เริ่มมีหัวหนองสีเหลืองตรงกลาง
ต่อมามีลักษณะนุ่มเหลวสีเหลืองเหนียวเหลวมีเชื้อโรคปะปนอยู่มาก
อาจกระจายไปสู่ที่อื่นของร่างกายได้
การป้องกันและรักษา
อาบน้ำอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
รักษาผิวหนังให้สะอาดอยู่เสมอ
สังคัง
อาการ
คันอย่างรุนแรง เป็นผื่นแดงที่ผิวหนัง
ต่อมาเป็นตุ่มแดงขยายออกไปเป็นวงกว้างขอบจะนูนแดงและมีขุยขาวๆ
สาเหตุ
ได้รับเชื้อราเกิดจากอากาศที่ร้อนชื้น
วิธีป้องกันและรักษา
อาบน้ำทุกๆวันละ 2 ครั้ง
เช็ดตัวให้แห้งๆ
ทำความสะอาดข้าวของเครื่องใช้เป็นประจำ
ไม่ใช้ของใช้ร่วมกับผู้อื่น
หากมีอาการให้รีบไปหาหมอเพื่อทำการรักษา
ปัญหาระบบผิวหนังที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ผิวหนังแห้งเป็นขุย
ไม่ควรอาบน้ำบ่อยจนเกินไปใช้สบู่เท่าที่จำเป็น
ใช้ครีมเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับผิว
มีอาการคันไม่ควรเกาหรือแกะ
ผิวหนังเป็นตุ่มก้อน
หลีกเลี่ยงการถูกแสงระคายเคืองไม่ตากแดดเป็นเวลานาน
ไม่แก่ตุ่มก้อนก็อาจทำให้ติดเชื้อและมีเลือดออก
หาที่ควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
การดูแลผู้ที่มีปัญหาแผลกดทับ
ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้อง
การไม่เคลื่อนที่หรือเคลื่อนไหวลดลง
การรับความรู้สึกทางผิวหนังลดลงจนไม่มีความรู้สึก
ภาวะโภชนาการไม่ดีน้ำหนักตัวลดลง
ผิวแห้งเคยเป็นแผลกดทับมาก่อน
อายุมากขึ้น
มีปัญหาของระบบประสาทอัมพฤกษ์อัมพาต
การดูแล
ประเมินผิวหนังทุกวัน
ใช้โลชั่นทาผิวให้ชุ่มชื้น
ไม่ถูนวดปุ่มกระดูกใช้สารหล่อลื่น
ใช้เทคนิคการยกที่เหมาะสมอุปกรณ์ช่วยยก
ตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง
จัดการความเปียกชื้น
จัดอาหารเสริมความแข็งแรงของผิวหนัง
จัดน้ำดื่มให้ตามตารางที่ตัวหรือจัดท่า
การดูแลผิวเปลี่ยนสี
หลีกเลี่ยงที่มีแสงแรงใส่เสื้อปกคลุมผิวหนัง
ผิวหนังอักเสบจากการแพ้ยา
สังเกตว่าเกิดจากสาเหตุอะไร
ถ้ารุนแรงให้ไปพบแพทย์
ผิวหนังอักเสบหนังย่นเหี่ยวหย่อนยาน
ควรระวังการถูกกระทบกระแทกด้วยของแข็งของมีคม
หลีกเลี่ยงการแกะเกา