Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบ วิชาชีพ - Coggle Diagram
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบ
วิชาชีพ
วิชาชีพการพยาบาลเป็นวิชาชีพหนึ่งที่มีความจำเป็นต่อ
สังคมจึงทำให้วิชาชีพพยาบาลต้องปฏิบัติงานช่วยแพทย์ในการบำบัดโรคซึ่งจะช่วยให้การปฏิบัติงานใน
วิชาชีพเกิดความปลอดภัยภัย
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
สาธารณสุขที่กำหนดสิทธิและหน้าที่ในการป้องกันและกษาไว้ซึ่งชีวิต ร่างกายสุขภาพเพื่อให้ปลอดภัยจากความเจ็บป่วย
ข้อจำกัดและเงื่อนไขในการรับมอบหมายให้
ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ผู้ที่กระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา มอบหมายให้ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ต้องเป็นบุคคลซึ่งระเบียบนี้กำหนด
บุคคลที่ได้รับมอบหมายจะทำการประกอบวิชาชีพ
เวชกรรมได้เฉพาะ
2.1 เพื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการหรือเงื่อนไขที่
ระเบียบนี้กำหนด
2.2 ต้องเป็นการปฏิบัติราชการ หรืออยู่ในสถาน
พยาบาลของทางราชการเท่านั้น
2.3บุคคลที่ได้รับมอบหมายตามระเบียบนี้ต้องอยู่ใน
ความควบคุมของเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
บุคคลที่สามารถทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ มี
ดังนี้
3.1พนังงานอนามัย
3.2เจ้าพนักงานสาธารณสุข
3.3ผู้สำเร็จประกาศนียบัตรสาธารณสุขสาสตร์
3.4ผู้ช่วยพยาบาลและผดุงครรภ์ ผู้ช่วยพยาบาลและจิตเวช
3.5พนักงานสุขภาพชุมชน
3.6ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง
3.7อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)
ผู้ประกอบวิชาชีพการการพยาบาลและผดุงครรภ์จะทำ
การประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ มีรายละเอียดดังนี้
ด้านอายุรกรรม ให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้น เพื่อบรรเทาอาการของโรค คือ ไข้ ตัวร้อน ไข้และมีผื่นหรือจุด ไข้จับสั่น
2.การรักษาพยาบาลอื่น
2.1 การให้น้ำเกลือในผู้ป่วยท้องเดินอย่างรุนแรง
2.2 การฉีดเซรุ่มแก้พิษงู
2.3 การสวนปัสสาวะ
3.ด้านศัลยกรรม
3.1 ผ่าฝี
3.2 เย็บบาดแผลที่ไม่สาหัส
3.3 ชะล้าง ทำแผล ตกแต่งบาดแผล ผ่าเอาสิ่งแปลกปลอมซึ่งอยู่ในตำแหน่งซึ่งไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะสำคัญของร่างกายออก
ด้านสูตินรีเวชกรรม
4.1 ทำคลอดในรายปกติ
4.2 ทำการช่วยเหลือขั้นต้นในรายที่มีการคลอดผิดปกติ
4.3 ทำการช่วยเหลือในกรณีที่จะมี การทำแท้ง หรือหลัง
แท้งแล้ว
4.4 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค รวมถึงการฉีดวัคซีน
ป้องกันโรค
4.5 การวางแผนครอบครัว การฉีดยาคุมและจ่ายยาเม็ด
คุมกำเนิด
4.6 การเจาะโลหิตจากปลายนิ้วหรือหลอดเลือดดำเพื่อ
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
4.7 ด้านปัจจุบันพยาบาล ให้การปฐมพยาบาลเกี่ยวกับ
การได้รับสารพิษ และสัตว์ มีพิษกัดต่อย การแพ้ยา
ุ6.ให้ผู้ประกอบวิชาการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งหรือชั้นสองกระทำการสอดใส่ห่วงอนามัยเพื่อการวางแผนครอบครัวได้ภายใต้เงื่อนไข
6.1 ได้ทดสอบขอรับการใส่ห่วงอนามัยว่าไม่ตั้งครรภ์
6.2 ขอรับการใส่ห่วงอนามัยได้คลอดบุตรมาแล้ว 45-60 วันและยังไม่มีประจำเดือน
6.3 ผู้ขอรับการใส่ห่วงอนามัยได้คลอดหรือแท้งลูกมาแล้ว 30 วัน และยังไม่มีประจำเดือน
ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล หรือผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลผดุงครรภ์ ผ่านการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวกับการผ่าตัดทำหมันหญิงหลังคลอดทำการผ่าตัดทำหมันหญิงหลังคลอดหรือใส่และถอดยาฝังคุมกำเนิดได้
ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล หรือผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ซึ่งได้รับประกาศนียบัตรการศึกษาทำการให้ยาสลบเฉพาะการให้สลบชนิด gerneral anesthesia คือ การทำให้หมดความรู้สึกตัวแต่ไม่รวมถึงการให้ยาชาทางไขสันหลัง หรือการระงับความรู้สึกทางไขสันหลัง
ให้บุคคลซึ่งได้ผ่านการศึกษาหรือฝึกอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวกับวิชาวิทยาสาสตร์การแพทย์ทำการประกอบวิชาชีพได้
ให้บุคคลซึ่งได้ผ่านการอบรมตามหลักสูตรการผดุงครรภ์โบราณของกระทรวงสาธารณสุข ทำการรับฝากครรภ์และทำคลอดในรายปกติได้
ให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านซึ่งได้ผ่านการอบรม ได้รับหนังสือรับรองความรู้ความสามารถจากกระทรวงสาธารณสุข แต่งตั้งให้เป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านอยู่ ทำการประกอบวิชาชีพ
ให้อาสาสมัครของสมาคมวางแผนครอบครัวผ่านการอบรมจากสถาบันดังกล่าวและได้รับหนังสือรับรองความรู้ทำการจ่ายยาเม็ดคุมกำเนิดที่แผงยาได้
การใช้ยาตามบัญชียาให้บุคคลที่ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ใช้ยาตามบัญชียาที่หน่วยราชการของกระทรวง สภากาชาดไทยกำหนด ทั้งนี้ต้องไม่เกินรายการบัญชียาสามัญประจำบ้าน ตามกฎหมายว่าด้วยยา รายการยาสถานีอนามัย
การประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้นตามกระทรวงสาธารณสุข เพื่อบรรเทาอาการหรือโรคดังต่อไปนี้ คือ ไข้ตัวร้อน ไข้และมีผื่น หรือจุด ไข้จับสั่น
ให้การปฐมพยาบาลเกี่ยวกับบากแผลสด กระดูกหัก
เจาะโลหิตเพื่อตรวจหาเชื้อไข้จับสั่น การใช้ยา
3.1 ยาสามัญประจำบ้านตามกฎหมายว่าด้วยยา
3.2 ยาที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม สั่งให้จ่ายให้แก่คนไข้เฉพาะราย และเฉพาะคราว
3.3 ยาสมุนไพรที่กำหนดในแบบเรียนด้วยตนเองของกระทรวงสาธารณสุขในงานสาธารณสุขมูลฐาน
ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง ผู้ประกอบ
วิชาชีพการพยาบาล ชั้นสองช่วยพยาบาลหรือประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาลและจิตเวช ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
กฏหมายแพ่งที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิชาชีพ
ความสัมพันธ์ของบุคคล
นิติกรรม
การกระทำของบุคคลโดยชอบด้วยกฎหมายและสมัครใจมุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ เพื่อก่อเปลี่ยนแปลง โอน สงวน
ป.พ.พ.มาตรา 149 นิติกรรม หมายความว่า การใดๆอันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัครมุ่งโดยตรง
องค์ประกอบของนิติกรรม
1.มีการกระทำ จะเป็นการกระทำใดๆได้ทั้งสิ้น
2.การกระทำนั้นโดยชอบด้วยกฏหมายหรือไม่ขัดต่อกฏหมาย
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
นิติกรรมฝ่ายเดียว คือ นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคลากรฝ่ายหนึ่งฝ่ายเดียว เช่น การทำพินัยกรรม
2.นิติกรรมสองฝ่าย คือ นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไปจึงเกิดมีนิติสัมพันธ์ขึ้นหรือเรียกว่าสัญญา เช่น สัญญาว่าจ้าง
บุคคที่ถือว่าหย่อนความสามารถในการกระทำนิติกรรม
คนไร้ความสามารถ
คนไร้ความสามารถ คือ คนวิกลจริตที่ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ โดยศาลจะแต่งตั้งให้คู่สมรสหรือผู้สืบสันดานหรือบุพการีของคนวิกลจริตเป็นผู้อนุบาล
คนเสมือนไร้ความสามารถ
คือ บุคคลที่ไม่สามารถจัดการงานของตนเองได้เพราะ
กายพิการหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
ประพฤติสุรุ่ยสุร่าย เสเพลเป็นอาจิณ
ติดสุรายาเมา
ผูู้เยาว์
ผู้เยาว์ หมายถึงบุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะคือยังมีอายุไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์ การสมรสโดยชอบด้วยกฎหมายของหญิงและชายที่มีอายุ 17 ปีบริบูรณ์ การทำนิติกรรมของผู้เยาว์ต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรมคือบิดา มารดา
สัญญา
คือ การตกลงด้วยความสมัครใจระหว่างบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป โดยเจตนาจะต้องถูกต้องตรงกัน คือ ฝ่ายหนึ่งจะต้องแสดงเจตนาขึ้นมาก่อน เรียกว่า คำเสนอ เมื่ออีกฝ่ายหนึ่งสนใจคำเสนอนั้นก็จะแสดงเจตนาตอบ
ความผิดตามสัญญาเป็นความตกลงด้วยในสมัครระหว่างบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไปว่าจะกระทำหรืองดเว้นกระทำกี่อันชอบด้วยกฎหมาย
ละเมิด
การกระทำหรืองดเว้นการกระทำที่ทำให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิตกำหนดให้ผู้กระทำต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการกระทำของตน
องค์ประกอบ 3 ประการ
1.กระทำโดยบุคคลอื่นโดยผิดต่อกฏหมาย
2.กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
3.ทำให้บุคคลอื่นได้รับความเสียหาย
การชดใช้ค่าเสียหายอันเกิดจากการกระทำละเมิดให้กับผู้เสียหายตามกฎหมายแพ่ง เรียกว่า ค่าสินไหมทดแทน
ความรับผิดตามละเมิดการกระทำ รวมถึงการงดเว้นที่ทำให้เกิดความเสียหายแกชีวิตอนามัย
1.กระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
การกระทำผิดกฎหมายอาญาหรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
2.กระทำโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่อ
การกระทำโดยจงใจทางแพ่ง มิได้หมายความเหมือนกับความหมายของคำว่า “เจตนา” ทางกฎหมายอาญาเสียทีเดียว
3.ทำให้บุคคลอื่นเสียหายแก่ชีวิตร่างกาย
1.ค่าปลงศพ
1.ค่าปลงศพ
3.ค่าขาดแรงงาน
4.ผู้กระทำต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
กรณีผู้เสียหายไม่ถึงแก่ความตาย
1.ค่ารักษาพยาบาลและค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้ในระหว่างเจ็บป่วย
2.ค่าเสียความสามารถประกอบการงานในอนาคต
3.ค่าเสียหายอื่นอันมิใช่ตัวเงิน
สภาพบังคับของกฏหมาย
1.โมฆะกรรม
ความสูญเปล่าของนิติกรรม มีผลเสมือนหนึ่งว่าไม่ได้มีการกระทำนิติกรรมนั้นขึ้น และผู้เสียหายก็ไม่มีสิทธิเรียกร้องตามกฎหมายให้อีกฝ่ายหนึ่ง
ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย คือ กฎหมายห้ามกระทำ เช่น ทำสัญญารับจ้างฆ่าคน
เป็นการพ้นวิสัย คือ เป็นการกระทำในสิ่งที่ไม่สามารถกระทำได้ เช่น ทำสัญญา
ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน เช่น ตกลงให้ยาแก่ผู้ป่วยโรคเอดส์ระยะรุนแรงให้ตายเพื่อให้พ้นทุกข์ทรมาน
2.โมฆียกรรม
ความสูญเปล่าของนิติกรรม มีผลเสมือนหนึ่งว่าไม่ได้มีการกระทำนิติกรรมนั้นขึ้น และผู้เสียหายก็ไม่มีสิทธิเรียกร้องตามกฎหมายให้อีกฝ่ายหนึ่ง
3.การบังคับชำระหนี้
นิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์ในขณะที่ทำ แต่อาจถูกฝ่ายที่เสียเปรียบบอกล้างได้ในเวลาต่อมา มีผลให้นิติกรรมนั้นสิ้นสุดลงและตกเป็นโมฆะกรรม
4.การชดใช้ค่าเสียหาย
กฎหมายแพ่งได้รับรองสิทธิให้ผู้ที่ได้รับความเสียหายมีสิทธิเรียกร้องให้ผู้กระทำผิดชดใช้ค่าเสียหาย
ความผิดทางแพ่งความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยหรือผู้รับบริการกับแพทย์หรือพยาบาลเปลี่ยนจากความสัมพันธ์ที่มีความนับถือไว้วางใจในตัวบุคคล
กฎหมายอาญา
กฎหมายมหาชนประเภทหนึ่งที่กำหนดความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับราษฎรมีสาระสำคัญกี่ยวกับการกระทำที่เป็นความผิดและการลงโทษผู้ฝ่าฝืนไว้
แบ่งเป็น 2 ประเภท
ประมวลกฎหมายอาญา ได้แก่ กฎหมายที่รวบรวมการกระทำผิดสำคัญๆ และบังคับใช้เช่น ความผิดบานลักทรัพย์ รับของโจร
2.กฎหมายอาญาประเภทอื่นๆ ได้แก่ กฎหมายที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดเฉพาะเรื่องนอกจากที่ได้กล่าวไว้ เช่น พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ความผิดทางอาญา
ความผิดทางอาญา คือ การกระทำผิดที่มีผลกระ
ทบต่อสังคมหรือคนส่วนใหญ่ของประเทศ
มี 2 ประเภท
ความผิดต่อแผ่นดิน ได้แก่ ความผิดที่สำคัญและร้ายแรง มีผลกระทบต่อ ผู้ได้รับความเสียหายและส่งผลกระทบกระเทือนแก่สังคมรัฐจำเป็นต้องเข้าไปดำเนินคดี เพื่อรักษา
ความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองได้ด้วย
2.ความผิดส่วนตัวความผิดที่ไม่ร้ายแรงและมีผลกระทบกระเทือนต่อผู้ที่ได้รับความเสียหายแต่ฝ่ายเดียวความผิดประเภทนี้ตัวผู้ได้ รับความเสียหายเท่านั้นที่จะฟ้องร้องได้เอง
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
1.ต้องมีการกระทำ
การกระทำนั้นกฎหมายบัญญัติว่าเป็นการกระทำผิดและ
กำหนดโทษไว้
ต้องกระทำโดยเจตนา หากเป็นการกระทำโดยประมาทหรือ
ไม่เจตนา ต้องมีกฎหมายกำหนดไว้ด้วยว่าจะต้องรับโทษ
ไม่มีกฎหมายยกเว้นความรับผิดหรือกฎหมายยกเว้นโทษ
การกระทำ
การเคลื่อนไหวร่างกายภายใต้การคับของจิตใจและควบคุมได้
การกระทำโดยเจตนา
มาตรา 59 วรรค 2 การกระทำโดยเจตนา ได้แก่ กระทำ
โดยรู้สึกในการกระทำ
องค์ประกอบของการกระทำ
ต้องกระทำโดยรู้สึกในการกระทำ
ต้องกระทำโดยประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผล
การกระทำโดยประมาท
มาตรา 59 วรรค 4 กระทำโดยประมาท
ได้แก่ กระทำความผิดโดยมิได้เจตนา
องค์ประกอบของการการกระทำ
1.การกระทำนั้นเป็นการกระทำที่ไม่เจตนากระทำผิด
2.ได้กระทำไปโดยปราศจากความระมัดระวัง
3.ผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังได้ แต่หาได้ใช้เพียงพอไม่
การกระทำโดยไม่เจตนา
การกระทำที่ไม่ทั้งประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผล
ที่เกิดขึ้นจากการกระทำ
การกระทำโดยงดเว้น
บทบัญญัติของกฎหมายนี้ถือว่าการที่บุคคลใดมีหน้าที่ที่จะต้องกระทำการใด เพื่อป้องกันผลร้ายอย่างใดอย่างหนึ่ง
เกิดขึ้นได้ 2 กรณี คือ
1.โดยกฎหมายบัญญัติ เช่น บิดา มารดา มีหน้าที่อุปการะ
เลี้ยงดูบุตร ผู้เยาว์ หรือทุพพลภาพที่หาเลี้ยงตัวเองไม่ได้
โดยการกระทำของผู้กระทำผิดเอง เช่น รับจ้างเป็น
พยาบาลมีหน้าที่ดูแลให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วย
ป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้ใดจำต้องกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่น ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย
หลักเกณฑ์ “ป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย”
ต้องเป็นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้าย
อันละเมิดต่อกฎหมาย
ภยันตรายนั้นเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง
ต้องเป็นการกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของ
ตนหรือของผู้อื่นให้พ้นจากภยันตรายนั้น
ความยินยอม
การอนุญาตให้กระทำได้ เป็นการปล่อยให้เหตุการณ์เกิดขึ้นโดยไม่ขัดขวาง
องค์ประกอบของความยินยอม
ต้องยินยอมโดยบริสุทธิ์ใจ มิได้เกิดขึ้นจาก
ความหลอกลวง
ความยินยอมต้องมีอยู่ในขณะกระทำผิด
ไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน เช่น การยอมให้ฆ่าไม่อาจกระทำได้เพราะผิดกฎหมาย
เหตุยกเว้นโทษ
แต่บางกรณีบุคคลกระทำความผิดการกระทำนั้นเป็นความผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ เพราะมีเหตุยกเว้นโทษตามกฎหมาย
กระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน
ถ้าผู้กระทำมีหน้าที่หรือเชื่อโดยสุจริตว่ามีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม ผู้นั้นไม่รับโทษ เว้นแต่จะรู้ว่าคำสั่งนั้นเป็นคำสั่งซึ่งมิชอบด้วยกฎหมาย
หลักเกณฑ์ กระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน
กระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงานเจ้าพนักงาน
2.คำสั่งนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย
3.ผู้กระทำมีหน้าที่หรือเชื่อโดยสุจริตใจว่ามีหน้า
ที่ต้องปฏิบัติตาม
กระทำผิดเพราะไม่สามารถรู้ผิดชอบ
หลักการของ การกระทำเพราะไม่สามารถรู้
ผิดชอบ ดังนี้
ต้องกระทำผิดในขณะที่ไม่สามารถรู้
รับผิดชอบหรือไม่ สามารถบังคับตนเองได้
2.เพราะจิตบกพร่อง โรคจิต หรือจิตฟั่นเฟือน
กระทำผิดด้วยความจำเป็น
เพราะอยู่ในที่บังคับหรือภายใต้อำนาจซึ่งไม่
อาจหลีกเลี่ยงหรือขัดขืนได้
เพราะเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นพ้นจากภยันตรายที่ใกล้จะถึงและไม่สามารถหลีกเลี่ยงให้พ้นโดยวิธีอื่นก็ได้
อายุความและโทษทางอาญา
ต้องอยู่ในระยะของอายุความที่ศาลจะลงโทษได้ด้วย หากผู้เสียหายได้ปล่อยปละละเลยหรือจำเลยได้หลบหนีไปจนหมดอายุความแล้ว พนักงานอัยการผู้เป็นโจทย์ก็จะสั่งฟ้องผู้ต้องหาไม่ได้ หรือศาลจะสั่งลงโทษจำเลยอีกไม่ได้
สภาพบังคับของกฎหมาย
การลงโทษเป็นสิ่งที่แสดงออกถึงความรู้สึก
ของชุมชนในการโต้ตอบผู้ที่กระทำละเมิด
โทษสำหรับผู้กระทำ มีดังนี้
ประหารชีวิต
จำคุก
กักขัง
ปรับ
ริบทรัพย์สิน
การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์กับความผิดทางอาญา
การไม่ช่วยเหลือหรือปฏิเสธการประกอบ
วิชาชีพ
โทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ง
พันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ความผิดมาตรานี้ ได้แก่ การปฏิเสธไม่วยเหลือผู้ป่วยที่เข้ามาขอรับการรักษาพยาบาลและไม่ให้การช่วยเหลือ
ใดๆ ย่อมครบองค์ประกอบของความผิด
ประกอบวิชาชีพโดยผู้ป่วยไม่ยินยอมผู้ใดข่มขืนใจผู้อื่นให้กระทำการใด ไม่กระทำการใด หรือจำยอมต่อสิ่งใดโดยทำให้
กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ทอดทิ้งหรือปล่อยปละละเลยผู้ป่วย
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน
สามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การเปิดเผยความลับผู้ป่วย
แล้วเปิดเผยความลับนั้นในประการที่น่าจะ
เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้องระวางโทษเช่นกัน
ประมาทในการประกอบวิชาชีพ
ความผิดตามมาตรานี้ ได้แก่ การฉีดยาที่สะโพกผิดเทคนิค ทำให้เส้นประสาท SCIATIC ได้รับบาดเจ็บผู้ป่วยมีอัมพาตของขา การวางกระเป๋าน้ำร้อนและทำเกิดการไหม้ของผิวหนังผู้ป่วย
การทำหรือรับรองเอกสารอันเป็นเท็จ
ผู้ใดในการประกอบการงานในวิชาแพทย์
กฎหมาย บัญชีรับรองเอกสารอันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะ
เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การทำให้แท้งลูก
ผู้ใดทำให้หญิงแท้งลูกโดยหญิงนั้นยินยอมต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
กฎหมายอาญา
อนุญาตให้แพทย์ทำแท้งให้กับหญิงได้และโดยหลักเกณฑ์
กำหนดให้ผู้ทำแท้งเป็นแพทย์เท่านั้นผู้ประกอบวิชาชีพการ
พยาบาลจึงไม่อาจเป็นผู้ลงมือทำแท้งให้กับหญิงได้