Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีสิ่งแวดล้อมของไนติงเกล Nightingale's Environmental Theory -…
ทฤษฎีสิ่งแวดล้อมของไนติงเกล Nightingale's Environmental Theory
การพัฒนาฤษฎีการพยาบาลไนติงเกล
เป็นทฤษฎีที่อธิบายถึง ความสัมพันธ์ของมนุย์ กับสิ่งแวดล้อม
มีการะบุได้ชัดเจนว่า การพยาบาลเป็นวิชาชีพหนึ่ง ซึ่งแตกต่างไปจากวิชาชีพทางการแพทย์
กำหนดมโนมติที่เกี่ยวข้องในทฤษฎีอย่างเด่นชัด เพื่ออธิบายจุดเน้น กรอบอ้างอิง ของการพยาบาล
ระบุสัมพันธภาพระหว่างมโนมติ
มโนมติที่สำคัญ
สิ่งแวดล้อม
เป็นสถานการณ์ และแรงผลักภายนอกที่มีผลโดนตรงต่อชีวิตและพัฒนาการของบุคคล รวมถึงอาหาร ท่าที และวาจา
มองสิ่งแวดล้อมเชิงกายภาพดป็นส่วนใหญ่ เริ่มจากสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว
อากาศบริสุทธิื
น้ำบริสุทธิ์
ระบบจัดน้ำโสโครกที่มีประสิทธิภาพ
ความสะอาด
การได้รับแสงสว่างอย่างเพียงพอ
ภาวะสุขภาพและมนุษย์
มนุษย์
ผู้ป่วยซึ่งมารับบริการปฏิบัติรักษาจากพยาบาลด้วยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ผู้ป่วยมีศักยภาพ การซ่อมแซมสุขภาพเมื่อเกิดการเจ็บป่วยและสามารถคืนสภาพ ถ้ามีสิ่งแวดล้อมดีและปลอดภัย
ภาวะสุขภาพ
เป็นความสามารถดำรงภาวะสุขภาพด้วยพลังอำนาจของบุคคล ในการใช้ธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเกิดการซ่อมแซมเมื่อมีการเจ็บไข้ มีการควบคุมปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันการเกิดโรค พยาบาลจะช่วยเหลือบุคคลให้มีกระบวนการหายที่ดี โดยมุ่งเน้นที่สุขภาพ และการเจ็บไข้เป็นสำคัญ
การพยาบาล
เป็นการจัดสิ่งเอื้ออำนวยให้เกิดกระบวนการหาย ด้วยสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด เช่น อากาศ แสงสว่าง ความสงบ และอาหารที่เหมาะสม
สิ่งแวดล้อมย่อมมีผลต่อสุขภาพ
การพยาบาลต่างกับการแพทย์ โดยการพยาบาลจะมุ้งเน้นที่บุคคล ซึ่งมีกระบวนการซ่อมแวมมากกว่ามุ่งที่โรค โครงสร้างทางกายภาพและเสรี
ทฤษฎีการพยาบาลของไนติงเกล
ขั้นตอนการประเมิน
อาหารและเครื่องดื่ม
สภาพและผลของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพต่อผู้ป่วย
ระดับความวิตกกังวล หรือ ความตื่นตัว
ผลของความเจ็บป่วยต่อภาวะจิตใจ
ขั้นตอนการวินิจฉัยทางการพยาล
เน้นที่ความต้องการของผู้ป่วย และระดับพลังชีวิตที่ได้รับผลกระทบจากสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนการวางแผนการพยาบาล
ยึดหลักการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมและการสื่อสารกับผู้ป่วย เพื่อวางแผนร่วมกัน
ขั้นตอนการปฏิบัติการพยาบาล
การปรับเปลี่ยนกิจกรรมการพยาบาลและสิ่งแวดล้อม ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ป่วย
ขั้นตอนการประเมินผล
ใช้หลัการสังเกตุ ประเมินจากผลที่เกิดขึ้นในตัวของผู้ป่วยที่สืบเนื่องจากการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม