Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก(infertility), นางสาวอัจฉราพรรณ พิมพ์ศรี เลขที่ 93 ห้อง 2A…
ภาวะมีบุตรยาก(infertility)
ความหมาย
สำหรับสตรีที่อายุมากกว่า 30-35 ปี ถ้ามีเพศสัมพันธ์สม่ำเสมอ ไม่ได้คุมกำเนิดภายในเวลา 6 เดือน แต่ไม่ตั้งครรภ์ถือว่าอยู่ในภาวะมีบุตรยาก
การที่คู่สามีภรรยาไม่สามารถมีบุตรได้ภายหลังจากมีเพศสัมพัรธ์อย่างสม่ำเสมอโดยไม่ได้คุกำเนิดเป็นเวลาอย่างน้อย 1 ปี
ชนิดของการมีบุตรยาก
ปฐมภูมิ
การที่ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ หลังจากที่พยายามแล้วเป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
ทุติยภูมิ
การที่ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาแล้ว อาจจะสิ้นสุดลงด้วยการแท้งหรือการคลอด หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลย เป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
สาเหตุและปัจจัย
ชาย
การสร้างเชื้ออสุจิผิดปกติ
อสุจิน้อย
รูปร่างผิดปกติ
โรคประจำตัว
ความเครียด
สารเคมี
การขนส่งเชื้ออสุจิผิดปกติ
การอุดตันของท่อนำเชื้ออสุจิ
การมีเพศสัมพันธ์และการหลั่งน้ำเชื้อที่ผิดปกติ
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์และช่วงเวลาที่ไม่ตรงกับระยะตกไข่
ไม่สามารถหลั่งน้ำอสุจิในช่องคลอดของฝ่ายหญิงได้
แต่สามารถหลั่งน้ำอสุจิได้จากการสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง
หญิง
ความผิดปกติของการสร้างไข่หรือการตกไข่
ความผิดปกติของอุ้งเชิงกรานและท่อนำไข่
ความผิดปกติที่ปากมดลูกและมดลูก
โรคประจำตัว
การค้นหาปัจจัยการมีบุตรยาก
ชาย
ซักประวัติ
การสูบบุหรี่
การมีเพศสัมพันธ์
การดื่มแอลกฮอลล์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตรวจร่างกาย
รูปร่างอัณฑะ
หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ
ลักษะรูเปิดท่อปัสสาวะ
ผลทางห้องปฏิบัติการ
้Hormones
*ตรวจน้ำอสุจิ
CBC
หญิง
ตรวจร่างกาย
ทั่วไป
โรคทางอายุรกรรม
เฉพาะ
ช่องคลอด
รังไข่
มดลูก
เชิงกราน
เต้านม
ผลทางห้องปฏิบัติการ
CBC
Hormones
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ
การซักประวัติ
ประวัติการได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด
การมีเพศสัมพันธ์
ประวัติการมีประจำเดือน
การคุมกำเนิด
บทบาทพยาบาล
แนะนำให้ดูแล และบำรุงร่างกายให้สมบูรณ์แข็งแรงอยู่เสมอ
ให้คู่สมรสได้ปรึกษาและพูดคุยกับแพทย์และพยาบาลจนสิ้นสุดการรักษา
ควรแนะนำให้คู่สมรสทำจิตใจให้สบาย ไม่เคร่งเครียด หรือวิตกกังวลมากจนเกินไป
ให้กำลังใจ และสร้างความมั่นใจ
เปิดโอกาสให้คู่สมรสได้เลือกช่วงที่จะทำการตรวจวินิจฉัย
ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัดและมาพบแพทย์ทุกครั้งที่มีการนัดหมาย
ประเมินความรู้สึกและทราบถึงปัญหา
อธิบายให้เข้าใจถึงขั้นตอน วิธีการ ระยะเวลาค่าใช้จ่าย ภาวะแทรกซ้อน
อธิบายให้ทราบถึงความเจ็บป่วยที่อาจต้องเผชิญทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
วิธีการช่วยเหลือ
ภายนอก
ZIFT
เป็นการเก็บไข่และอสุจิ มาผสมกันให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกายก่อน
แล้วจึงนำตัวอ่อนในระยะ zygote ใส่กลับเข้าไปในท่อนำไข่
ข้อบ่งชี้
หญิง
ท่อนำไข่ไม่ตัน แต่ทำงานไม่ปกติ
ชาย
อสุจิน้อยกว่าปกติ
IVF&ET
เป็นการเก็บไข่และอสุจิ มาผสมกันให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกายจนแบ่งเซลล์เป็นตัวอ่อนจนถึงระยะ 4-8 cells หรือเป็น blastocyst แล้วจึงใส่กลับเข้าสู่โพรงมดลูก
ข้อบ่งชี้
หญิง
ท่อนำไข่อุดตันทั้ง 2 ข้าง
ชาย
เชื้ออสุจิไม่แข็งแรง
ICSI
ข้อบ่งชี้
ชาย
เป็นหมัน
ฉีดตัวอสุจิเข้าไปในเซลล์ของไข่โดยตรงเพื่อให้เกิดตัวอ่อนขึ้น
จะทำการฉีดอสุจิ 1 ตัว เข้าไปในไข่ 1 ใบ จากนั้นจึงนำไข่ที่ฉีดอสุจิแล้วไปเลี้ยงในตู้อบ
ภายใน
การผสมเทียม
IUI การฉีดเชื้ออสุจิเข้าโพรงมดลูก
ข้อบ่งชี้
หญิง
มีภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
มีปัญหาการตกไข่
หาสาเหตุการมีบุตรยากไม่พบ
ชาย
น้ำเชื้ออสุจิไม่ดีมีน้อย
GIFT
ข้อบ่งชี้
หญิง
ต้องมีท่อนำไข่ที่ปกติอย่างน้อย 1 ข้าง
ชาย
มีเชื้ออสุจิอ่อนแอไม่มากนัก:
ข้อบ่งชี้
หญิง
ท่อนำไข่ไม่ตัน แต่ทำงานไม่ปกติ
ชาย
อสุจิน้อยกว่าปกติ
นางสาวอัจฉราพรรณ พิมพ์ศรี เลขที่ 93 ห้อง 2A 613601099