Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของหัวใจและโครงสร้าง - Coggle Diagram
ความผิดปกติของหัวใจและโครงสร้าง
ความผิดปกติของระบบไหลเวียน
ความผิดปกติจากโครงสร้างของหัวใจและหลอดเลือด
เป็นตั้งแต่กำเนิด
เกิดขึ้นภายหลังจากปัจจัยอื่น เช่น การติดเชื้อ
ความผิดปกติของการทำหน้าที่
โรคร่วมต่างๆ ปัจจัยเสี่ยงต่าง
ความผิดปกติของระบบไหลเวียน
ความดันโลหิตสูง
หัวใจขาดเลือด
โรคหัวใจที่เกี่ยวเนื่องกับปอดและการไหลเวียนโลหิตของปอด
ไข้รูมาติค หัวใจรูมติคเรื้อรัง
เกิดจากความเสื่อม
โรคที่เกี่ยวข้องกับหัวใจ
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคของหลอดเลือดแดง
โรคของหลอดเลือดดำ
โรคหัวใจและหลอดเลือดที่สำคัญ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
ภาวะหัวใจวาย
การติดเชื้อที่ส่วนต่างๆ
Shock
Cardiac arrest
MI
Coronary artery disease
Cardiac temponade
โรคระบบไหลเวียนที่สำคัญ
โรคความดันโลหิต
โรคของหลอดเลือดดำและหลอดเลือดแดง
หลอดเลือดแดงอักเสบ
เส้นเลือดดำขอด
การประเมินผู้ป่วยโรคหัวใจ
2.การตรวจร่างกาย
2.2 ฟัง
2.1 ดู
1.การซักประวัติ
1.4 ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
1.5 แบบแผนการดำเนินชีวิต
1.3 ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
1.6 ประวัติการไดรับยา
1.2 อาการสำคัญ
1.7 ประวัติครอบครัว
1.1 ข้อมูลส่วนตัว
1.8 ประวัติการทำงาน
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
PT,PTT
BUN,Cr
CBC,ESR
Serum cholesterol
Cardiac enzyme
Lipid profile
CRP (hsCRP)
4.การตรวจพิเศษ
5.การตรวจรังสี/อื่นๆ
อาการและอาการแสดง
อ่อนล้า
2.หายใจลำบาก
2.2 เหนื่อยหอบเมื่อนอนราบ
2.1 เหนื่อยหอบเมื่อมีกิจกรรมออกแรง
2.3 เหนื่อยหอบตอนกลางคืน
2.4 การเป็นหืดเนื่องจากโรคหัวใจ
2.5 การหายใจเร็วสลับหยุดหายใจเป็นช่วง
4.ใจสั่น
1.เจ็บหน้าอก
5.เป็นลม
6.บวม
7.ภาวะเขียว
8.อาการอื่นๆ
ปัญหาโรคหัวใจและหลอดเลือด/การรักษา
Arrhythmia
1.รักษาด้วยยา
2.ใส่ Pacemaker
Heart attact
2.Coronary angioplastry
3.CABG
1.รักษาด้วยยา
Heart valve ploblem
1.Medication
2.Surgery
Stroke
1.รักษาด้วยยา
2.PDF
3.ผ่าตัดเอาก้อนเลือดออกจากสมอง
โรคเกี่ยวกับหัวใจ
ภาวะหัวใจวาย (Heart failure)
สาเหตุ
7.โรคเกี่ยวกับกล้ามเนื้อหัวใจ
8.หัวใจเต้นผิดปกติ
6.โรคที่เกิดจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
9.ความผิดปกติของหัวใจ
5.โรคร่วมอื่นๆ
10.สารพิษต่างๆ
4.Limited fill
3.กล้ามเนื้อหัวใจมีการทำหน้าที่ผิดไป
11.โรคเกี่ยวกับปอด
2.หัวใจทำงานหนักเกินไป
12.หยุดหายใจขณะหลับ
1.โรคหลอดเลือดหัวใจ
พยาธิสภาพ
3.การเพิ่มขึ้นในการบีบตัวของหัวใจแต่ละครั้ง
4.หลอดเลือดแดงหดตัว
2.อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น
5.การเพิ่มแรง การบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
1.กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง บีบเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้น้อย
6.การคั่งของน้ำและเกลือในร่างกาย
7.กล้ามเนื้อหัวใจหนา แข็งและโตขึ้นโดยเฉพาะห้องล่างซ้าย
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
1.ภาวะหัวใจห้องล่างเวนตริเคิลวายด้านซ้ายและด้านขวา
1.2ภาวะหัวใจเวนตริเคิลวายด้านขวา
อาการ
เลือดคั่งในอวัยวะต่างของร่างกายอาการบวมที่แขน ขา ท้อง
หลอดเลือดที่คอโป่ง
ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน
1.1ภาวะหัวใจเวนตริเคิลวายด้านซ้าย
อาการ
ไอ หายใจลำบากเมื่อนอนราบ
หายใจลำบากตอนกลางคืน
เสมหะสีชมพู
2.ภาวะหัวใจวายเฉียบพลันและเรื้อรัง
2.1 ภาวะหัวใจวาายเฉียบพลัน
2.2 ภาวะหัวใจวายเรื้อรัง
อาการ
1.ซีด เขียวคล้ำ
2.บวมจากความดันเลือดส่วนปลายเพิ่มขึ้น
3.เหนื่อยง่าย
4.มึนศรีษะ วิงเวียน สับสน
5.คลื่นไส้ เบื่ออาหาร ท้องบวมน้ำ ตับโต
6.หายใจเหนื่อยกลางคืน
7.ปัสสาวะน้อยลง
การรักษาและการพยาบาลผู้ป่วยหัวใจวาย
2.เพิ่มความสามารถในการบีบตัวของหัวใจห้องล่าง
3.การให้ออกซิเจนน เพื่อเพิ่มออกซิเจนในเลือดและกล้ามเนื้อหัวใจ
1.ลดการทำงานของหัวใจ
4.การให้ยา เพื่อลด Preload และ Afferloadของหัวใจ
4.1 ยากลุ่ม Digitalis เพื่อเพิ่มความแรงบีบของตัวหัวใจและทำให้หัวใจเต้นช้าลง
4.2 ยากลุ่มเบต้าบล็อกเกอร์ เพื่อระงับการหลั่ง Stress hormone เพื่อลดการเต้นของหัวใจ
4.3 ACEI เพิ่มการไหลเวียนของเลือด ลดทั้ง Preldad และ Afferload
4.4 ยาขับปัสสาวะ (Diuretic) เพื่อลดปริมาตรน้ำในร่างกาย ลดอาการบวม
5.การให้ยาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
6.การให้ยาขยายหลอดเลือด
7.การบำบัดด้วยยาขยายหลอดเลือด
8.การปรับพฤติกรรม
9.การบำบัดด้วยเครื่องมือ
หัตถการเกี่ยวกับหัวใจ
การสวนหัวใจ
วิธีการทำ
2.ทำบอลลูนเพื่อขยายบริเวณที่ตีบ
3.ใส่ sent เพื่อป้องกันหลอดเลือดตีบ
1.ใส่สายสวนผ่านผิวหนังไปจนถึงหลอดเลือดหัวใจดพื่อช่วยขยายหลอดเลือด Coronary artery
การพยาบาลก่อนทำการสวนหัวใจ
งดน้ำงดอาหารหลังเที่ยงคืน และเครื่องดื่ม6ชม.ก่อนการรักษา
สื่อสารกับแพทย์ได้
เจาะเลือด X-rayหัวใจ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การพยาบาลหลังทำการสวนหัวใจ
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
ควรรับประทานอาหารเหลว
นอนราบ 8 ชม.
พักฟื้นท่รพ3.ประมาณ 1-2 วันจึงกลับบ้าน
CABG
การพยาบาลขณะทำ CABG
1.เปิดช่องอก sternum และ rib
2.ใช้เครื่องช่วยพยุงการทำงานของหัวใจและปอด
3.นำเส้นเลือดที่เหมาะสมมาตัดต่อกับ Bypass
4.เมื่อเสร็จสิ้นใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจให้ทำงานต่อ
การพยาบาลหลังทำ CABG
3.Controlled heart rate และ Hemodynamic
4.ดูแลสาย Cheat tube
2.ติดตามการทำงานของหัวใจตลอดเวลา
5.ดูแลทางเดินหายใจและทางเดินปัสสาวะ
1.ย้ายเข้า ICU
การพยาบาลก่อนทำ CABG
2.ให้ยา Sedative ทางปากหรือทางหลอดเลือดดำ
1.ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
3.ให้ยาระงับความรู้สึก GA
4.ใส่ท่อช่วยหายใจ
5.สวนปัสสาวะค้าง
หลอดเลือดโป่งพอง (Aneurysm)
อาการ
คลำก้อนได้หน้าท้องใต้ลิ้นปี่
มีก้อนเต้นที่ท้องสัมพันธ์กับชีพจร
ปวดท้องเรื้อรัง
การพยาบาล
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
ดูแลก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัดซ่อมแซมเส้นเลือดระมัดระวังไม่ให้หัวใจและเส้นเลือดใหญ่ทำงานหนัก
หลีกเลี่ยงการเบ่งถ่าย
งดบุหรี่
ควบคุมความดันโลหิต
โรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
สาเหตุ
โรคหลอดเลือดแดงแข็ง
โรคความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจจากสาเหตุอื่นๆ
โรคออโตอิมูน/โรคภูมิต้านตนเอง
การติดเชื้อต่างๆ
ผลข้างเคียงจากยาลดน้ำหนัก
อายุ
โรคต่างๆ
โรคที่พบบ่อย
Mitral regurgitation/insufficiency
สาเหตุ
การติดเชื้อ การเสื่อมของเนื้อเยื่อ การขยายของหัวใจห้องล่าง
อาการ
ในระยะแรกยังไม่มีอาการ เมื่อมีอาการรุนแรงขึ้นจะเหนื่อยหอบเวลาออกเเรงทำกิจกรรม ใจสั่น นอนราบไม่ได้ บวมกดบุ๋ม
การพยาบาล
1.ระยะไม่มีอาการ ถ้าเกิดจากไข้รูมาติก ให้ยาปฏิชีวนะ
2.ระยะท่มีอาการเล็กน้อยถึงปานกลาง ให้ยาขับปัสสาวะ
3.ระยะรุนแรง รัักษาโดยการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
Aorta stenosis
สาเหตุ
ลิ้นหัวใจพิการตั้งแต่กำเนิด และความเสื่อมของลิ้นหัวใจจากหินปูนเกาะเมื่อมีอายุมากขึ้น ติดเชื้อ
พยาธิสภาพ
อาการจะค่อยเป็นค่อยไปใช้เวลาค่อนข้างหลายปี จนลิ้นหัวใจมีรูตีบเล็กจนปรากฏอาการ
อาการ
เจ็บหน้าอกแบบ Angina หายใจลำบาก หมดสติเมื่อออกแรง
การพยาบาล
ระยะแรกรักษาตามอาการ ในระยะรุนแรง การผ่าตัดเป็นการรักษาที่ีดีที่สุด
Mitral stenosis
พยาธิสภาพ
การอัเสบของลิ้นหัวใจทำให้เกิดความแข็ง หนา หดรัดดึงรั้งของหัวใจ
อาการ
เหนื่อยล้า หายใจลำบากเวลาออกแรง นอนราบไม่ได้ หอบเหนื่อยเวลากลางคืน ไอเป็นเลือด ตับโต ขายวมกดบุ๋ม
ประเมินสภาพ
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจ EKG
การพยาบาล
การใช้ยา การผ่าตัดขยายหลอดเลือด การปรับพฤติกรรม
Aorta regurgitation/insufficiency
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจและการติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจและหัวใจ
พยาธิสภาพ
มักเกิดจากเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบติดเชื้อหลอดเลือดเอออร์ต้าฉีกขาด การบาดเจ็บของทรางอก
อาการ
ใจสั่น หายใจลำบาก นอนราบไม่ได้ หายใจเหนื่อยตอนกลางคืน
การดูแลรักษา
ระยะแรกและระยะปานกลางรักษาตามอาการร่วมกับปรับพฤติกรรม
ระยะรุนแรง การรักษาที่ได้ผลที่ดีคือการผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจเทียม
การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
ข้อบ่งชี้
2.ลิ้นหัวใจเทียมที่ทำจากเนื้อเยื่อของคนหรือสัตว์ พิจารณาทำกับผู้สูงอายุ หลังทำมักได้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด 3-6 เดือน
1.ลิ้นหัวใจเทียมที่ทำจากสิ่งสังเคราะห์ พิจารณาทำในคนที่ไม่ใช่ผู้สูงอายุ
การพยาบาลผู้ที่ผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
4.ลดโซเดียมเพื่อป้องกันการคั่งของโซเดียม
3.ผู้ป่วยสมารถทำงานได้หลังจากผ่าตัด 6 สัปดาห์
5.สอนให้สังเกตุอาการแสดงที่มาพบแพทย์
2.การออกกกำลังกายตามความสามารถของผู้ป่วย
6.เพศสัมพันธ์ มีได้เมื่อทำกิจวัตรประจำวันโดยไม่มีอาการเหนื่อย
1.ผักผ่อนอย่างน้อย 6-8 ชม.ในระยะ1เดือนหลังออกจากรพ.
7.การตั้งครรภ์ ในช่วง3เดือนแรกหลังการผ่าตัด
8.ป้องกันการติดเชื้อ
9.การรับประทานยา ต้องรับประทานยากันการแข็งเลือด แนะนำการปฏิบัติ
ตัว
9.4 หลีกเลี่ยงการรับประทานยาชนิดอื่น
9.5 หลีกเลี่ยงการทำงาน การออกกำลังกาย
9.3 ถ้าประสบอุบัติเหตุ มีการบาเจ็บให้ใช้ผ้ากดลงบนแผลให้แน่น
9.6 ห้ามเพิ่มขนาดยาเองโดยเด็ดขาด
9.2 ให้ผู้ป่วยหยุดรับประทานอาหารเมื่อมีอาการ เลือดออกตามไรฟัน ปัสสาวะเป็นเลือด อาเจียนเป็นเลือด มีรอยจ้ำเลือด
9.7 กินอาหารที่มีวิตามินสูง ผักใบเขียว
9.1 มาพบแพทย์ตามนัดเพื่อเจาะเลือดทุก 1-2 เดือน
9.8 ยานี้มีผลต่อการตั้งครรภ์ โดยเฉพาะในระยะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์
โรคระบบไหลเวียน
ความดันโลหิตสูง
ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความดันโลหิต
ปริมาณเลือดในร่างกาย
Resistance
ความยืดหยุ่นของผนังหลอดเลือดแดง
ขนาดดส้นผ่าศูนย์กลางของหลอดเลือด
ผนังของหลอดเลือดหนา
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ
ระดับความดันโลหิต
Prehypertension อยู่ในช่วง 120/80-139/89 mmHg
Stage1 อยู่ในช่วง 140/90-159/99 mmHg
Stage2 ตั้งแต่ 160/100 mmHg ขึ้นไป
Hypertensive crisis
Hypertensive urgency
Hypertensive emergency
สาเหตุของความดันโลหิตสูงทุติยภูมิ
โรคของต่อมไร้ท่อ
ความผิดปกติทางระบบประสาท
โรคไต
ความผิดปกติของหลอดเลือด
ภาวะเครียดเฉียบพลัน
Pheochromocytoma
Renovascular disease
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้
อายุ
เพศ
ประวัติทางครอบครัว พันธุกรรม
เชื้อชาติ
ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงได้
ภาวะ stress
อ้วนมาก
สารอาหาร
สารเสพติด
ออกกำลังกาย
พยาธิสภาพ
การควบคุมปริมาตรน้ำในร่างกาย
ระบบเรนนินเอนจิโอเทนซิน
ตัวรับความดันโลหิตและตัวรับเคมีในหลอดเลือดแดง
การควบคุบตนเองของหลอดเลือด
ผลกระทบ
มีการทำลายผนังหลอดเลือดแดง
อาจมีรอยแตกเล็กๆที่ผนังหลอดเลือดจะเป็นที่สะสมของไขมัน โปรตีน แคลเซียม
หัวใจทำงานมากขึ้น
มีการทำลายของอวัยวะที่สำคัญ
การประเมินผู้ป่วย
การตรวจพิเศษ EKG,Film chest
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจร่างกาย ตรวจระบบหัวใจหลอดเลือด สมอง ตาและไต
ความเครียดความวิตก
แบบแผนการดำเนินชีวิต
การซักประวิติ
การวัดBlood pressureที่ถูกต้อง
โรคหลอดเลือดสมอง Stroke
ประเภท
Ischemia stroke
Embboli
Thrombosis
Hemorrhagic stroke
Intracerebral hemorrhage
Subarachnoid hemorrhage
อาการ
ระยะเฉียบพลัน
24-48ชม. หมดสติ ความดันในกระโหลกศรีษะสูง
ระยะหลังเฉียบพลัน
เริ่มมีอาการคงที่ที่ 1-4วัน
ระยะฟื้นฟูสภาพ
3เดือนแรก
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้
เพศ
ประวัติครอบครัว
อายุ
ประวัติเคยเป็นโรคหลอดเลืดสมองและ stroke
ปัจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงได้
ไขมันในเลือดสูง
อ้วน
ไม่ออกกำลังกาย
TIA
Atrial Fibrillation
โรคของหัวใจและระบบไหลเวียนโลหิต
โรคของ carotid artery diseaseและ peripheral
เป็น HT,DM สูบบุหรี่ สุรา สารเสพติด
การประเมิน
ซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจพิเศษ