Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิดด้านโภชนาการ, มิติย่อย 4 มิติ, โดยเริ่มตั้งแต่อาหารเข้าสู่ร…
บทที่ 1
แนวคิดด้านโภชนาการ
หน้าที่และประโยชน์ของอาหาร :pencil2:
สร้างความเจริญเติบโตและเป็นส่วนประกอบของร่างกาย
สมอง
กล้ามเนื้อ
กระดูก
สร้างภูมิคุ้มกันและรักษาโรค
วิตามิน
เกลือแร่ต่างๆ
ให้พลังงานและความอบอุ่น
ส่วนหนึ่งของอาหารจะนำไปสร้างพลังงาน
เป็นตัวควบคุมการทำงานของกระบวนการต่างๆของร่างกายให้เป็นปกติ
ใช้ในการสังเคราะห์สารที่จำเป็น
ทำหน้าที่สำคัญหลายอย่าง
เฮโมโกลบิน
ไมโอโกลบิน
กลุตาไทโอน
เกลือน้ำดี
แอนติบอดี
ภาวะโภชนาการ :pencil2:
ภาวะโภชนาการที่ดี
สภาพของร่างกายที่เกิดจากการได้รับอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
มีสารอาหารครบถ้วน
มีปริมาณเพีบงพอกับความต้องการของร่างกาย
ผลที่ได้รับ
ร่างกายแข็งแรง
ผิวพรรณดี
อารมณืแจ่มใส
ภาวะโภชนาการที่ไม่ดี
ร่างกายได้รับสารอาหารไม่ครบและปริมาณไม่เพียงพอต่อความต้องการ
การบริโภคอาหารน้อยไม่เพียงพอ
ความเคยชิน นิสีย ในการบริโภค
การเคี้ยว การย่อบ การกลืน
อาหารและพลังงาน :pencil2:
ความหมายของพลังงาน
พลังงานที่ใช้ในร่างกายเพื่อให้ร่างกายสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้
พลังงานสมดุล
พลังงานที่ได้รับจากการทานอาหารและเครื่องดื่ม
รับประทานอาหาร 3000 แคลอรี่/วัน ทำกิจกรรมต่างๆคิดเป็นพลังงาน 3000 แคลอรี่/วันเช่นกัน จะถือว่าเป็นการใช้พลังงานที่สมดุล
แต่ถ้าพลังงานที่ได้รับจากการอาหารมากกว่าพลังงานที่ใช้ในร่างกายเรียกว่า สมดุลพลังงานเป็นบวก ผล = อ้วน
แต่ถ้าเมื่อใดพลังงานที่ได้รับจากอาหารน้อยกว่าพลังงานที่ใช้ในร่างกาย เรียกว่า สมดุลพลังงานลบ ผล = น้ำหนักลด
แคลอรี่
หน่วยของปริมาณพลังงานในอาหาร และปริมาณพลังงานที่คนได้รับเมื่อรับประทานอาหารในแต่ละชนิดเข้าไป
การวัดปริมาณแคลอรี่
ปริมาณความร้อนที่ทำให้น้ำ 1 กรัม มีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 องศสเซลเซียส
กิโลแคลอรี่
กาวัดปริมาณความร้อนที่ทำให้น้ำ 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 องศาเซลเซียส
คือ อุณหภูมิน้ำเปลี่ยนจาก 15 องศาเซลเซียส เป็น 16 องศาเซลเซียส
1 กิโลแคลอรี่ในวิชาโภชนาการ = 1000 แคลอรี่
ความสำคัญของโภชนาการด้านภาวะสุขภาพ :pencil2:
ความหมายของอาหาร
ของกินหรือเครื่องค้ำจุน
ดื่ม
อม หรือ นำเข้าสู่ร่างกาย
วัตถุที่คนกิน
ความหมายของโภชนาการ
วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของอาหาร
ด้านเคมีอืนทรีย์
ด้านเคมีอนินทรีย์
ด้านชีววิทยา
ด้านฟิสิกส์
ความหมายของสุขภาพ
ภาวะแห่งความสมบูรณ์
สุขภาพกาย
สภาพที่ดีของร่างกาย
อวัยวะต่างๆอยู่ในสภาพที่แข็งแรง สมบูรณ์
ปราศจากโรค
สุขภาพจิต
สภาพจิตใจที่สามารถควบคุมอารมณ์ได้
สุขภาพสังคม
ผู้ที่มีภาวะทางจิตใจและสังคมสมบูรณ์
ดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างสงบสุข
สุขภาพจิตวิญญาณ
สภาวะที่ดีของปัญญาที่รู้เท่ากัน
แยกเหตุผลแห่งความดี ความชั่ว ความมีประโยชน์และมีโทษ
สู่ความมีจิตใจอันดีงามและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
ความหมายของสารอาหาร
สารเคมีที่อยู่ในอาหารมี 6 ชนิด
สารอาหารชนิดมหภาค
ให้พลังงาน
คาร์โบไฮเดรต
ไขมัน
โปรตีน
สารอาหารจุลภาค
ไม่ให้พลังงาน
วิตามิน
เกลือแร่
ความหมายของสารพฤกษเคมี/ไฟโตรนิวเทรียนท์
สารเคมีที่มีฤิทธิ์ทางชีวภาพที่พบเฉพาะในพืช
สารพฤษเคมีอาจทำให้พืชผักมีสี กลิ่น และรสชาติที่เป็นลักษณะเฉพาะตัว
ความสัมพันธ์ของโภชนาการต่อมนุษย์ :pencil2:
สุขภาพกาย
ขนาดของร่างกาย
การมีกำลังแรงงาน
ร่างกายแข็งแรง
ไม่เหนื่อยง่าย
มีสรรถภาพในการทำงาน
การมีอำนาจต้านทานโรค
ผู้ที่มีภาวะโภชนาการดี มีโอกาสติดเชื้อน้อย
ไม่แก่ก่อนวัยและอายุยืน
การสุขาภิบาลอาหารที่ดี
การบรการสาธารณสุขที่ดี
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์
การแพทย์
เทคโนโลยี
การมีภาวะโภชนาการดี
มารดาและทารกในครรภ์แข็งแรง
สุขภาพจิต
โภชนาการที่ดีทำให้
สุขภาพจิตดี
มีความมั่นคงทางอารมณ์
ไม่เหนื่อยง่าย
มีความกระตือรือร้นในชีวิต
ปรับตนเองให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ง่าย
มีวุฒิภาวะทางอารมณ์
พัฒนาการทางสมอง
โปรตีน
เป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของสมอง
ไอโอดีนและธาตุเหล็ก
สำคัญต่อการเจริญเติบโตของสมองทารกในครรภ์
กรดโฟลิก
อยู่ในกลุ่มวิตามินบี
สำคัญในการสร้างสมอง ระบบประสาท และไขสันหลัง
ผลกระทบที่เกิดจากปัญหาโภชนาการตลอดวงจรชีวิตมนุษย์ :pencil2:
ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์
มีอัตราการตายสูง
พัฒนาการทางสมองด้อย
เพิ่มความเสี่ยงต้อการเป็นโรคเรื้อรังเกี่ยวกับอาหารเมื่อเป็นผู้ใหญ่
เด็กแคระแกร็น
เกิดจากการได้รับอาหารเสริมไม่เพียงพอ
สุขาภิบาลไม่เหมาะสม
เด็กวัยรุ่นแคระแกร็น
เกิดจากได้รับสารอาหารไม่เพียงพอเป็นระยะเวลานานติดต่อกัน
ขาดสุขาภิบาลและการดูแลเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่ขาดสารอาหารและขณะตั้งครรภ์
มัน้ำหนักตัวเพิ่มน้อยกว่าปกติ
ทำให้ทารกในครรภ์ขาดสารอาหาร
การเจริญเติบโตชะงัก
ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักตัวต่ำกว่าเกณฑ์
วัยสูงอายุ
ถ้าการดูแลในช่วงเวลาที่ผ่านมามีภาวะโภชนาการต่ำ
ทำให้ขาดสารอาหารเรื้อรัง
สุขภาพด้อย
อัตราการเจ็บป่วย/เสียชีวิตสูง
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อภาวะโภชนาการ :pencil2:
สิ่งแวดล้อมครอบครัว
ข้อมูลข่าวสาร
สังคมเพื่อน
การจัดการบริการอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ความเจ็บป่วย
มิติย่อย 4 มิติ
การป้องกัน
มาตราการลดความเสี่ยงในการเกิดโรค
สร้างภูมิคุ้มกันเฉพาะโรคเพื่อมิให้เกิด
โรคกาย
โรคจิต
โรคสังคม
โรคจิต วิญญาณ
การส่งเสริมสุขภาพ
กลไกสร้างความเข้มแข็ง
สุขภาพกาย
สุขภาพจิต
สุขภาพสังคม
สุขภาพศีลธรรม
การรักษา
เกิดโรค
วินิจฉัย
รีบให้การรักษา
การฟื้นฟูสภาพ
มาตราการฟื้นฟูให้กลับมามีสภาพใกล้เคียงปกติสุดเท่าที่จะทำได้
โดยเริ่มตั้งแต่อาหารเข้าสู่ร่างกาย
ผ่านกระบวนการย่อย
การดูดซึม
การใช้จ่ายสารอาหารในร่างกาย
การเก็บสะสมอาหารที่เหลือใช้
การขับของเสียออกจากร่างกาย