Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการที่ได้รับบาดเจ็บ
8122F36A-A91B-4A59-AE6F-26A279FBE2D6,…
กลุ่มอาการที่ได้รับบาดเจ็บ
็Head injury
การได้รับความกระทบกระเทือนที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพต่อศีรษะซึ่งนับรวมทั้งอวัยวะ ได้แก่ scalp, skull, dura mater, arachnoid mater, pia mater,
cerebral vessels และbrain parenchyma
-
กลไกการเกิดบาดเจ็บ
-
บาดเจ็บโดยอ้อม
การบาดเจ็บที่เกิดขึ้นกับส่วนอื่นของร่างกาย แล้วมีผลสะท้อน ทำให้เกิดการบาดเจ็บที่ศีรษะขึ้น เช่น ตกจากที่สูงก้นกระแทกพื้น เป็นผลทำให้เกิดอันตรายต่อแกนสมองส่วนเมดัลลาโดยตรงหรือการเคลื่อนไหวของลำตัวอย่างรวดเร็ว
พยาธิสรีรภาพ
-
secondary head injury ภาวะแทรกซ้อนเกิดหลังจากการบาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก โดยใช้ระยะเวลาเป็นนาที ชั่วโมง
-
-
-
-
-
การรักษา
-
การดูแลระบบไหลเวียนโลหิต แก้ไขภาวะความดันโลหิตต่ำ (hypotension- systolic blood pressure < 90 mmHg) ต้องหลีกเลี่ยงภาวะ Hypoxia และ Hypercarbia
ภาวะบาดเจ็บร่วมอื่นๆ ที่อาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิต เช่น tension pneumothorax, cardiac temponade, hypovolemic shock ต้องพยายามวินิจฉัยให้ได้ และให้การรักษาอย่างทันท่วงที
-
ในผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวทุกราย ต้องทำ neck immobilization ไว้จนกว่าจะตรวจสอบดูแล้วว่าไม่มีภาวะบาดเจ็บต่อกระดูกสันหลังส่วนคอ เพราะอาจเกิดอันตรายถึงแก่อัมพาตหรือเสียชีวิตได้ ถ้าไม่ระมัดระวัง
Chest injury
-
-
-
การวินิจฉัย
-
การตรวจร่างกาย
-
คลำ
-
คลำบริเวณทรวงอก ตรวจดูตำแหน่งความเจ็บปวด อาจคลำพบปลายกระดูกซี่โครงหักหรือคลำพบว่ามีลมออกอยู่ใต้ผิวหนัง
-
-
ฟัง
เสียงผิดปกติอื่นๆในรายที่มีการบาดเจ็บกะบังลมทะลุและมีลำไส้เคลื่อนขึ้นไปอยู่ในช่องอกจะฟังได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส (bowel sound) บริเวณทรวงอกได้
-
-
-
-
-