Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility), นางสาวอัญชนา พรหมจันทร์ เลขที่ 95…
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility)
ชนิดของภาวะมีบุตรยาก
ปฐมภูมิ
การที่ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ หลังจากที่ได้พยายามแล้วเป็นเวลา 12 เดือน
ทุติยภูมิ
การมีบุตรยากที่ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อนอาจจะสิ้นสุดลงด้วยการแท้ง หรือการคลอดก็ตาม หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลยเป็นระะเลานานกว่า 12 เดือน
สาเหตุและปัจจัย
เพศชาย
Sexual factors
พบร้อยละ 10
Electile dysfunction
Premature dysfunction
Sperm dysfunction
พบร้อยละ 80
เชื้ออสุจิน้อย
มีรูปร่างผิดปกติ
มีการเคลื่อนไหวน้อย
Other
พบร้อยละ 10
ภาวะทางจิตใจ
ความเครียด
วิตกกังวล
เพศหญิง
ท่อนำไข่
พบร้อละ 30
Endometriosis
พบร้อละ 20
Immunological
พบร้อยละ 5
Other
พบร้อละ 5
การทำงานของรังไขผิดปกติ
พบร้อยละ 40
การวินิจฉัย
เพศหญิง
ซักประวัติ
ประวัติการมีประจำเดือน
การผ่าตัด
การแต่งงานและการมีบุตร
การมีเพศสัมพันธ์
การคุมกำเนิด
ลักษณะนิสัยส่วนตัวเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต
การได้รับยา รังสี สารเคมี
การตรวจร่างกาย
ตรวจร่างกายทั่วไป
โรคทางอายุรกรรมที่เป็นสาเหตุให้มีบุตรยาก
Secondary sex
ตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด
PV
Wat smear
Culture
คอมดลูก
PV
ดูลักทางกายภาพ
ตรวจมูกคอมดลูก
ตัวมดลูก
Hysteroscopy
U/S
PV
ท่อนำไข่
CO2 insufflation หรือ Rubin test
Hysterosalpingogram
Laparoscope
ประเมินท่อนำไข่ มดลูก และอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
สาเหตุ
ภาวะอุดตันของท่อนำไข่มักเกิดภายหลังการอักเสบติเชื้อในอุ้งเชิงกรานจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ไส้ติ่งอักเสบ
การทำแท้ง
ภาวะเยื้อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
วินิจฉัย
HSG การฉีดสารทึบรังสีและเอ็กซเรย์
Endoscopy การส่องกล้อง
Laparoscopy ตรวจในอุ้งเชิงกราน
Hysteroscopy ตรวจโพรงมดลูก
รังไข่
BBT
Cx mucous
Endometrium biopsy
Serum progesterone
เต้านม
เยื่อพังผืดในช่องเชิงกราน
Laparoscopy
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ
PCT
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจความผิดปกติของการตกไข่
ตรวจวัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในกระแสเลือดที่กึ่งกลางของระยะลูเทียล
ตรวจปัจจัยด้านปากมดลูกหรือทำ postcoital test
ตรวจวัด basal body temperature หรือ BBT chart
ตรวจการทำงานของอสุจิหรือ sperm function tests
ทำ Post coital test
เพื่อดูมูกที่ปากมดลูกและดูความสามารถของอสุจิที่จะว่ายผ่านขึ้นไปสู่โพรงมดลูก
เพศชาย
ซักประวัติ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
รูปแบบการดำเนินชีวิต ลักษณะนิสัยส่วนตัว
การได้รับยา รังสี สารเคมี
การมีเพศสัมพันธ์ และความถี่ในการมีเพศสัมพันธ์
การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด
ตรวจร่างกาย
หนังหุ้มปลายองคชาต
ลักษณะและรูเปิดของท่อปัสสาวะ
ลักษณะรูปร่างอัณฑะ
หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือด
ตรวจฮอร์โมน
ตรวจน้ำอสุจิ
ค่าปกติ
ปริมาณน้ำเชื้อ 2cc หรือมากกว่า
ความเป็นกรด-ด่าง 6-8
จำนวนอสุจิต่อซีซี 20 ล้านตัว\ซีซี หรือมากกว่า
การเคลื่อนไหว 50%หรือมากกว่า
ลักษณะรูปร่าง 50% ปกติหรือมากกว่า
การมีชีวิต 50% มีชีวิตมากกว่า
ความหมาย
การที่คู่สมรสไม่สามารถมีการตั้งครรภ์ได้ โดยที่มีความสัมพันธ์ทางเพศกันอย่างสม่ำเสมอและไม่ได้คุมกำเนิดมาเป็นระยะเวลา 1 ปี
หรือระยะเวลา 6 เดือนในกรณีที่คู่สมรสฝ่ายหญิงที่มีอายุเกิน 35 ปีขึ้นไป
การรักษา
รักษาแบบขั้นต้น
กำหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธ์
กระตุ้นไข่
ผสมเทียม
ใช้เครื่องมือฉีดเชื้ออสุจิเข้าไปภายในอวัยวะสืบพันธ์ของสตรีในช่วงที่ไข่ตก วิธีนี้เหมาะกับผู้ชายที่เชื้ออ่อนแรง
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง
นำน้ำอสุจิที่ได้รับการคัดแยกมาแล้วฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่ ตัวอสุจิจะว่ายไปทางท่อนำไข่และผสมกับไข่ด้วยตนเอง
วิธีนี้ไม่เหมาะกับ
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตันหรือมีพังผืดขวางทางระหว่างไข่กับทางเข้าท่อนำไข่
ท่อนำไข่เสียหาย เยื่อบุมดลูกเจริญผิดปกติ
ผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องน้ำอสุจิ
การช่วยเหลือ
GIFT
นำเอาไข่ออกมาเลือกที่สมบูรณ์ แล้วนำเครื่องมือที่นำอสุจิและเซลล์ไข่ ใส่เข้าไปในท่อนำไข่เพื่อให้มีการผสมและตั้งครรภ์แบบธรรมชาติ
ZIFT
คล้ายทำเด็กหลอดแก้ว
นำไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้วมาผสมกันและเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ 1 วัน ถ้าเกิดการปฏิสนธิแล้วจะใส่ตัวอ่อนกลับเข้าสู่ฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้อง ใส่ไปในท่อนำไข่
IVF
ทั่วๆไปเรียกว่าเด็กหลอดแก้ว
เป็นการปฏิสนธินอกร่างกายและการย้ายตัวอ่อน การทำคล้ายกับ GIFT แต่ไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้ว จะถูกนำมาผสมกันเพื่อให้เกิดปฏิสนธินอกร่างกายโดยเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ
การเก็บไข่
แทงเข็มผ่านทางช่องคลอดเข้าสู่รังไข่โดยตรงหรือผ่านทางหน้าท้อง
การเก็บสเปิร์ม
การหลั่งนอก เลือกสเปิร์มที่แข็งแรงเท่านั้น ซึ่งถ้าต้องการเก็บไว้ใช้ภายหลังสามารถเก็บไว้ไ้ในไนโตรเจนเหลว
ICSI
เป็นการนำเชื้ออสุจิเพียงหนึ่งตัวเจาะใส่เข้า Ooplasm โดยตรง วิธีนี้เหมาะกับผู้ที่มีสเปิร์มน้อยมากๆ
ข้อบ่งชี้
ตัวอสุจิน้อยมาก
ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี
ตัวอสุจิมีรูปร่างผิดปกติ
ข้อบ่งชี้
ท่อนำไข่ตีบตัน
มีเยื่อพังผืดในอุ้งเชิงกรานซึ่งขวางการเดินทางของไข่เข้าสู่โพรงมดลูก
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
ความผิดปกติของปากมดลูก
ความผิดปกติของการตกไข่
สาเหตุจากฝ่ายชาย
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ
คู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจหาสาเหตุของการมีบุตรยากแล้วจนครบตามมาตรฐานแล้ว แต่ไม่พบความผิดปกติโดยจะพบได้ร้อยละ 10-15 ของคู่สมรสทั้งหมด
นางสาวอัญชนา พรหมจันทร์ เลขที่ 95 รหัสนักศึกษา 613601101