Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม, นางสาววริศรา รัตนคุณ UDA6280039, นางสาววริศรา…
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม
ทฤษฎีทางการพยาบาลของโอเร็ม
ทฤษฎีความพร่องในการดูแลตนเอง (The theory of self-care deficit)
ความต้องการน้อยกว่าความสามารถ TSCD <SCA
ความต้องการมากกว่าความสามารถ TSCD >SCA
ความต้องการที่สมดุล TSCD = SCA
ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการดูแล ตนเองและความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด
ทฤษฎีระบบพยาบาล (The theory of nursing system)
การเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาตามความสามารถ และความต้องการการดูแลของผู้รับบริการ
3.1 ระบบทดแทนทั้งหมด ทดแทนความสามารถของผู้รับบริการ
อบุคคลที่มีความพร่องในการดูแล ตนเองให้ได้รับการตอบสนองความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมดและความสามารถในการดูแลตนเอง
3.2 ระบบทดแทนบางส่วน ช่วยเหลือที่ขึ้นอยู่กับความต้องการและความสามารถ
3.3 ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ ้รับการสอนและคำแนะนำในการปฏิบัติการดูแลตนเอง ให้ กำลังใจและคอยกระตุ้น
ทฤษฎีการดูแลตัวเอง (Self – care Theory)
ความสามารถในการดูแลตนเอง
พลังความสามารถ 10 ประการ
ความสนใจและเอาใจใส่ในตนเอง
ความสามารถที่จะควบคุมพลังงานทางด้านร่างกาย
ควบคุมส่วนต่างๆ ของร่างกายเพื่อการเคลื่อนไหว
ความสามารถที่จะใช้เหตุผล
มีแรงจูงใจ
การตัดสินใจ
การเสาะแสวงหาความรู้
การใช้กระบวนการทางความคิด
การจัดระบบการดูแลตนเอง
การดูแลตนเองอย่างต่อเนื่อง
ความสามารถในการปฏิบัติเพื่อดูแลตนเอง
ความสามารถในการคาดคะเน
ความสามารถในการปรับเปลี่ยน
ความสามารถในการลงมือปฏิบัติ
ความสามารถและคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน
ความสามารถที่จะกระทำ
ปัจจัยที่มีผลต่อการแสวงหาเป้าหมาย
ความสามารถที่จะรู้
ความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด
การดูแลตนเองที่จำเป็นตามพัฒนาการ
เจริญก้าวสู่วุฒิภาวะตามระยะพัฒนาการ
ดูแลเพื่อป้องกันการเกิดผลเสีย
ความต้องการการดูแลตนเองที่จำเป็นในภาวะเบี่ยงเบนทางด้าน สุขภาพ
การช่วยเหลือที่เหมาะสม
รับรู้ สนใจและดูแลผลของพยาธิสภาพ
ปฏิบัติตามแผนการรักษา
รับรู้และสนใจในการป้องกันความไม่สุขสบาย
ดัดแปลงอัตมโนทัศน์หรือภาพลักษณ
เรียนรู้ที่จะมีชีวิตอยู่กับผลของพยาธิสภาพ
การดูแลตนเองที่จำเป็นโดยทั่วไป
คงไว้ซึ่งการขับถ่ายและการระบายให้เป็นไปตามปกติ
คงไว้ซึ่งความสมดุลระหว่างการมีกิจกรรมและการพักผ่อน
การดูแลตนเองที่จ าเป็นโดยทั่วไป
คงไว้ซึ่งความสมดุลระหว่างการอยู่คนเดียวกับการมีปฏิสัมพันธ์กับ
ผู้อื่น
ป้องกันอันตรายต่างๆ ต่อชีวิต หน้าที่ และสวัสดิภาพ
ส่งเสริมการท าหน้าที่และพัฒนาการให้ถึงขีดสูงสุด ภายใต้ระบบสังคมและ ความสามารถของตนเอง
การดูแลตนเอง ริเริ่มและกระทำด้วย ตนเองเพื่อดำรงไว้
ระยะที่ 1 เป็นระยะของการประเมินและตัดสินใจ
ระยะที่ 2 ระยะของการกระทำและประเมินผลการกระทำ
ปัจจัยพื้นฐาน (Basic Conditioning Factors: BCFs)
ภายในและภายนอกของบุคคลที่มีอิทธิพลต่อ ความสามารถในการดูแลตนเอง
อิทธิพลต่อความสามารถในบทบาทของพยาบาล 11 ปัจจัย
กระบวนทัศน์หลักเกี่ยวกับทฤษฎี
สิ่งแวดล้อม
งกายภาพ เคมี ชีวภาพ และสังคมวัฒนธรรม
คนกับสิ่งแวดล้อมไม่สามารถแยกออกจากกันได้
บุคคล
บุคคลเป็นผู้ที่มีความสามารถในการกระท าอย่างจงใจมีความสามารถในการเรียนรู้ วางแผน
มีลักษณะเป็นองค์รวม เป็นระบบเปิด
สุขภาพ
สุขภาพ เป็นภาวะที่มีความสมบูรณ์ไม่บกพร่อง
คนที่มีโครงสร้างที่สมบูรณ์ สามารถท าหน้าที่ของตนได้
การพยาบาล
ดูแลตนเองได้อย่างต่อเนื่องและเพียงพอกับ ความต้องการในการดูแลตนเอง
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็มกับกระบวนการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นวางแผน
เมื่อทราบถึงความพร่อง ทำการเลือกระบบการพยาบาลให้เหมาะสม แล้วนำมาวางแผนโดยมีการกำหนดเป้าหมาย
ขั้นตอนที่ 3 ขั้นปฏิบัติการพยาบาลและควบคุม
ลงมือปฏิบัติตามแผนการพยาบาล การบรรลุความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นวินิจฉัยและพรรณนา
ระบุถึงความพร่องในการดูแลตนเอง
พื้นฐานความเชื่อที่นำมาอธิบายมโนทัศน์หลักของทฤษฎ
เป็นกิจกรรมที่เรียนรู้และจดจ าไว้ได้จากสังคม
การศึกษาและวัฒนธรรมมีอิทธิพลต่อบุคคล
ดูแลตนเองเป็นสิ่งสำคัญ ความจำเป็นในชีวิตของบุคคลเพื่อดำรงรักษาสุขภาพชีวิต
การดูแลผู้ที่อยู่ในความปกครอง
มีความสามารถและเต็มใจ
ผู้ป่วย คนชรา คนพิการ และทารก รับการช่วยเหลือดูแลจากบุคคลอื่น
บุคคล เป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อการกระท าของตนเอง
การพยาบาลเป็นการบริการเพื่อนมนุษย์
นางสาววริศรา รัตนคุณ UDA6280039
นางสาววริศรา รัตนคุณ UDA6280039