Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติข…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
การประเมินสภาพระบบหายใจ
1.การซักประวัติ
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน การรักษา และยาที่ได้รับ
ประวัติการผ่าตัด ปัจจัยเสี่ยงให้เกิดการหายใจล้มเหลว
การตรวจร่างกาย
ระบบหายใจ
การหายใจหอบเร็ว ลำบาก ไม่สม่ำเสมอ
ฟังเสียง ปอดพบเสียผิดปกติ
ระบบประสาท
อาการกระสับกระส่าย หงุดหงิด
ปวดศีรษะ สับสน ไม่รู้สึกตัว
ระบบหัวใจและหลอดเลือด, ระบบย่อยอาหาร
ระบบผิวหนัง
สีผิว เล็บ ปลายมือปลายเท้าสีซีดเขียว
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Arterial Blood Gas
การแปลผล
ดูที่ค่าpH ค่าpHปกติ คือ7.35-7.45 ถ้า pH< 7.35 เรียกว่า acidosis pH> 7.45 เรียกว่า alkalosis
ดูที่ค่าPaCO2 ค่าปกติ PaCO2 อยู่ในช่วง35-45mmHgถ้า PaCO2<35 mmHg เรียกว่า alveolar hyperventilation PaCO2>45mmHg เรียกว่า alveolar hypoventilation
ดูที่ค่าPaO2 ค่าปกติของPaO2 อยู่ในช่วง80-100mmHg
ดูที่ค่าHCO3และbase excess(BE)HCO3 22-26mEq/Lค่าBE+ 2.5 mEq/L
ดูที่ค่าoxygensaturationค่าปกติ 97-100%
การตรวจ CBC
การตรวจอิเลคโตรลัยท์
การทดสอบผิวหนัง
การวัด oxygen saturation
การตรวจพิเศษ
Lung function test
ฺBronchoscopy
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
Respiratory Acidosis
PaCO2 > 45 mmHg
การหายใจการแลกเปลี่ยนกา๊ซในปอดลดลง หายใจออก ลดลง
ได้รบัยา ประเภท narcotic, barbiturate เกินขนาด และ ก้านสมองได้รบับาดเจบ็ กดศนูยค์วบคมุการหายใจ
Respiratory failure, airway obstruction, chest injury
อัมพาตของกล้ามเนื้อช่วยหายใจ
การรักษา
ขจัดสาเหตุ
ถ้า Hypoxemia ให้ออกซิเจน หรือใช้เครื่องช่วย หายใจ
ให้การรกัษาตามโรค เช่น ให้ยาปฏิชีวนะในโรค ปอดอกัเสบ ยาขยายหลอดลม และ สเตียรอยด์ใน โรคหอบหืด
ให้โซเดียมไบคารบ์อเนต
ซึม เวียนศีรษะ หายใจลา บาก หายใจลดลงหมดสติ
Respiratory Alkalosis
PaCO2 < 35 mmHg
การหายใจเร็ว ภาวะหอบหืด ปอดอักเสบ ไข้สูง วิตกกังวล
เนื้องอกในสมอง สมองได้รบับาดเจบ็ ทา ให้ศนูยค์วบคมุ การหายใจท างานผิดปกติ
การตั้งเครื่องช่วยหายใจไม่เหมาะสม
ซึม สับสน หายใจเรว็ลึกหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชัก หมดสติ
การรักษา
ปรับลด Tidal volume,RR
ให้ยาแก้ปวด
Hyperventilation syndrome ให้ผปู้่วยหายใจในถงุกระดาษ
ให้ Sedative drug
Metabolic Acidosis
HCO3 < 22 mEq
สาเหตุ
ได้รับอาหารไม่พอ, รับประทานอาหารไม่ได้
ท้องร่วงรุนแรง
ไตวาย
เบาหวานที่ขาดอินซูลิน
กรดแลคติกคั่ง จากออกกำลังกายหักโหม
อาการ
ปวดศีรษะ สบัสน อาเจียน ท้องเดิน หายใจหอบลึก
เป็นตะคริวที่ท้องชาปลาย มือ ปลายเท้า
การรักษา
ให้โซเดียมไบคารบ์อเนต
Hemodialysis
Metabolic Alkalosis
HCO3 > 26 mEq
สาเหตุ
อาเจยีนรนุแรง, ใส่ gastric suction เป็นเวลานาน
ได้รับยาขับปัสสาวะมาก
ท้องผูกหลายวัน มีการดูดซึมกลับของ HCO3
อาการ
สับสน ไวต่อการกระตุ้น ชัก (Ca ต่ำ)
คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ (K ต่ำ) กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ลำไส้ไม่ทำงาน
การรักษา
ให ้Hcl acid ทางหลอดเลือดดำ
Respiratory Failure
การแลกเปลี่ยนก๊าซผิดปกติมากจนมีผลให้ความดันออกซิเจนใน เลือดแดง
PaO2ต่ำกว่า 50 mmHgความดันคารบ์อนไดออกไซดในเลือดแดง และ PaCO2 มากกว่า 50 mmHg
Caused
Decreased Fi O2
Hypoventilation
V/Q mismatch
Diffusion defect
แบ่งเป็น 2 ชนิด
การหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
Oxygenation failure
Ventilatory failure
การหายใจล้มเหลวอย่างเรื้อรัง
อาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด
ระบบประสาท
ระยะแรกมีอาการกระสับกระส่าย สับสนการ รบัร้ลูดลง
ระยะรนุแรงซึม หมดสติ รูม่านตาขยายไม่ตอบสนองต่อแสง กล้ามเนื้อกระตุก ชักทั้งตัวได้
ระบบหายใจ
หายใจเร็ว หอบเหนื่อย ถ้ารุนแรงมากอาจเกิด Cheyne –Stokes breathing หรือ apnea
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง การเต้นของหัวใจเร็วขึ้น
เมื่อรนุแรงหัวใจจะบีบตัวลดลง เกิด arrhythmia ความดันโลหิตลดลงสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น เลือดหนืดมากขึ้นหัวใจซีกขวาล้มเหลวเฉียบพลัน
ระบบผิวหนัง
ระยะแรกจะมีเหงื่อออก ตัวเย็น
ระยะขาดรนุแรง จะมีอาการตัวเขียว เมื่อ PO2<40mmHg หรือ O2Sat <70% บริเวณเยื่อบุปาก ลิ้น ปลายมือปลายเท้า
อาการแสดงของภาวะคารบ์อนไดออกไซด์ในเลือด
ระบบประสาทส่วนกลาง
ระยะแรกกระต้นุ Central chemoreceptor ทำให้เพิ่มการหายใจ ถ้าคั่งน้อยจะมีอารมณ์ดี มักจะตื่นกลางคืน มีสับสนและง่วงนอนในตอนกลางวัน
ระยะที่คั่งมาก จะกดการหายใจ เริ่มซึมง่วงนอน สับสน ไม่มีสมาธิ ถ้าCO2สูงขึ้นจนถึง 3 เท่าของระดับปกติ อาจComa โดยรูม่านตาหดเล็ก reflexลด
ระบบหลอดเลือด
CO2 ทำให้ arteriolar dilatation ผิวหนังหนา แดง และ อุ่น ชีพจรเต้นแรง ความดันโลหิตสูงหลอดเลือดในสมองขยาย ทำให้ปวดศีรษะมากเวลากลางคืน
Asthma
ปัจจัยและสิ่งกระตุ้น
สารก่อภูมิแพ้
สารระคายเคือง
ยาโดยเฉพาะกลุ่ม NSAID ,beta –blocker
การติดเชื้อไวรสัของทางเดินหายใจส่วนต้น
สาเหตุอื่นๆ เช่น การออกกำลังกาย ความชื้น ความเย็น
การวินิจฉัย
ไอ แน่นหน้าอก หายใจหอบมีเสียงหวีด
มีอาการเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น
พบร่วมกับอาการภูมิแพ้อื่น allergic rhinitis conjunctivitis และ dermatitis
ประวัติคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคหอบหืด
เกิดอาการหลังออกก าลังกาย
เป้าหมายของการรักษา
สามารถควบคมุอาการของโรคให้สงบลงได้
ป้องกันไม่ให้เกิดอาการกำเริบของโรค ยกระดับ สมรรถภาพการทำงานของปอด
สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ใกล้เคียงกับคนปกติ
หลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อนต่างๆจากยารักษาโรคให้น้อยที่สุด
ป้องกันและลดอุบัติการณ์การเสียชีวิตจากโรคหืด
Asthma medications
Controllers
Glucocorticosteroids: inhaled (ICS), systemic (OCS)
Inhaled long-acting β2-agonists (LABA) in combination with ICS
Formoterol
Salmeterol
Leukotriene modifiers
Sustained-release theophylline / Xanthines
Anti-IgE
Other systemic steroid-sparing therapies
Relievers
Short-acting β2agonists (SABA): inhaled /oral
Inhaled anticholinergics: (combination with salbutamol or fenoteral)
Short-acting theophylline
การควบคมุโรคหืด
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วย ญาติ และผู้ใกล้ชิด
.แนะนำวิธีการหลีกเลี่ยงหรือขจัดสิ่งที่แพ้และอาการหอบหืด อย่างเป็นรูปธรรมคือสามารถนำไปปฏิบัติจริงได้ รวมทั้งการปฏิบัติตัว
ประเมินระดับความรุนแรงและการประเมินผลการควบคุม โรคหืดระดับความรนุแรงของการควบคมุโรค
จัดแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรัง
จัดแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดกำเริบ เฉียบพลัน
จัดระบบให้มีการดูแลรักษาต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพ
COPD
เกิดจาก 2 โรค
chronic bronchitis
pulmonary emphysema
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยด้านผู้ป่วย เช่น ลักษณะทางพันธุกรรม
ปัจจัยด้านสภาวะแวดล้อม เช่น ควันสูบุหรี่ ควันไฟ การติดเชื้อของปอดและทางเดินหายใจเรื้อรัง
การวินิจฉัย
ประวัติอาการ ปัจจัยเสี่ยงและอาการแสดงที่พบ
ทรวงอกขยายแบบถังเบียร์ หายใจเร็ว ไอมีเสมหะเรื้อรัง
เล็บนิ้วและมือเขียว นิ้วปุ้ม เม็ดเลือดแดงเพิ่ม
ตรวจภาพรังสีทรวงอก หัวใจโต หลอดเลือด ขั้วปอดมีขนาดโตขึ้น
การวัดสมรรถภาพการทำงานของปอด พบค่าFEV1ต่ำกว่าปกติ
การตรวจวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดง พบค่า PaCO2 สงูขึ้น
เป้าหมายของการรักษา
บรรเทาอาการของโรคให้น้อยลงที่สุด
ป้องกันและลดภาวะกำเริบของโรค
ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น
การรักษาระยะที่โรคสงบ
การรักษาทางยา
Bronchodilator,Methylxanthine, Corticosteroid
การฟื้นฟสูมรรถภาพปอด
ออกกำลังกาย, การหายใจแบบ Pursed –lip
เมื่อมีโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ควรรีบพบแพทย์
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ไม่ควรรับประทานอาหารคาร์โบไฮเดรต
หลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้
แนะนำการพ่นยาที่ถูกวิธี
การหยดุบหุรี่
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจาก มีการตีบแคบของหลอดลม
ประเมินสัญญาณชีพ ลักษณะการหายใจ อาการเหนื่อยหอบ วัด O2 saturation Keep > 92%
จัดท่านอนศีรษะสูง30-45 องศา
ฟังเสียงการหายใจ
ดูแลให้ออกซิเจน 1 –3 ลิตรต่อนาที
ถ้าหายใจวายพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจและต่อเครื่องช่วยหายใจ ดูแล เครื่องช่วยหายใจให้ท างานอย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม
ดูแลให้ยา Dexamethasone 4 mg iv ทุก 6 ชวั่โมง
ถ้าผู้ป่วยยมีไข้ต้องให้ยาลดไข้ ตามแผนการรกัษาและเช็ดตัวลดไข้ เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
ติดตามผลการวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดงอย่างสม่ำเสมอ
เสี่ยงต่อการเกิดความไม่สมดุลของสารอาหารและน้ำ เนื่องจากภาวะการหายใจล้มเหลว
ทำความสะอาดปากและฟัน
ประเมินความต้องการสารอาหารที่ควรได้รับต่อวัน
ให้อาหารที่มีโปรตีนและแคลอรี่สงู คาร์โบไฮเดรตต่ำ
ให้ผู้ป่วยได้รับน้ำอย่างน้อยวันละ 3,000 มล.
3.ความทนต่อกิจกรรมลดลงเนื่องจากเหนื่อย อ่อนเพลีย และหายใจลำบาก
ประเมินสภาพผู้ป่วยและให้นอนพัก
สอนและกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้มีการออกกำลังกาย การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องร่วมกับการห่อปาก (Purse lip)
ดูแลการได้รับยาขยายหลอดลม
4.อาจเกิดอาการกลับซ้ำเนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่เป็น เพื่อให้ทราบถึงการดำเนินของโรค สาเหตุการรักษาและภาวะแทรกซ้อน
สอนวิธีการพ่นยา
Pneumonia
สาเหตุ
เชื้อไมโคพลาสมา
เชื้อรา
เชื้อไวรัส
เชื้อโปรโตซัว
ติดเชื้อแบคทีเรีย
สารเคมี
โรคแทรกซ้อน
ปอดบวมน้ำ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
มีหนองในโพรงเยื่อหุ้มปอด
มีการติดเชื้อในกระแสโลหิตแล้วกระจายไปสู่อวัยวะอื่นๆ
ช็อกจากการติดเชื้อ
หูชั้นกลางอักเสบและโพรงอากาศอักเสบ
เกิดการจับกลุ่มของโลหิตอุดตันในหลอดโลหิต
ระบบไหลเวียนล้มเหลวร่วมกับหัวใจวายชนิดโลหิตคั่ง
การรักษา
ดูแลบำบัดทางระบบหายใจ
เก็บเสมหะส่งเพาะเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะ
ดูแลความสมดุลของสารน้ำและอิเล็คโตรลัยท์
ให้อาหารโปรตีนสูง
ดูแลความสะอาดของปากและฟันให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเพียงพอ
ให้ยาลดไข้ป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อ
พยาธิสภาพ
ระยะที่ 1 ระยะเลือดคั่ง ผนังถุงลมบวม
ระยะที่ 2 ระยะปอดแข็งตัว พบโมโนนิวเคลียร์และไฟบรินแทรกอยู่ จะมีน้ำและ Exudate คั่งในถุงลม
ระยะที่ 3 ระยะฟื้นตัว
ประเภท
CAP
VAP
HCAP
HAP
ARDS
สาเหตุ
มีประวัติปอดได้รับบาดเจ็บ การสูดสำลัก
การให้สารน้ำและเลือดทดแทน
การเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด
พิษจากการให้ออกซิเจนเข้มข้นเป็นเวลานาน
ติดเชื้อที่ปอดรุนแรง ภาวะช็อค
พยาธิสภาพ
ความผิดปกติของ pulmonary capillary endothelium
ความผิดปกติที่ alveolar epithelium
การเปลี่ยนแปลงการแลกเปลี่ยนก๊าซ
Pneumothorax
Simple pneumothorax เกิดจากแรงกระแทกทำให้เยื่อหุ้มปอดฉีกขาด หรืออาจเกิดจากการทำหัตถการที่ใกล้ทรวงอก การแทงสายยางเพื่อเข้าหลอดเลือดดำใหญ่
Spontaneous pneumothorax เป็นสภาวะที่มีลมอยู่ในโพรงเยื่อหุ้มปอด (Pleural cavity) ซึ่งเกิดจากการแตกของถุงลมในปอด
Tension pneumothorax เป็นภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในโพรงเยื่อหุ้มปอดและลมไม่หยุดรั่วและไม่กลับออกไป จึงทำให้มีลมค้างในช่องอกเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
การรักษา
ถ้าไม่ได้ผล ให้ใช้เข็มเจาะระบายลม
ถ้าผู้ป่วยหายใจแย่ลง ให้เอาผ้าปิดแผลออกเพื่อให้อากาศระบายออกได้
ติดตามอาการ เฝ้าระวังภาวะลมดันในช่องปอด
ถ้ามีข้อบ่งชี้ ก็ใส่ท่อช่วยหายใจ
ปิดแผล 3 ด้าน โดยใช้ฟอยล์อลูมินัม หรือวาสลินก๊อส
นางสาวธัญญาเรศ หงษ์มณี รหัสนักศึกษา 612501036