Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ,…
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
Biochemical Assessment
Amniocentesis
ภาวะเเทรกซ้อน
การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
กลุ่มเลือด Rh negative มารดาสร้างภูมิต้านทานต่อเม็ดเลือดเเดงทารก ทำได้โดยฉีด :explode:Anti-D immunoglobulin หลังการตรวจ
ปวดดเกร็งเล็กน้อยบริเวณท้องน้อย
คำแนะนำหลังการเจาะ
สังเกตอาการ หากมีพบให้มาพบเเพทย์
ปวดเกร็งหน้าท้องมาก
ไข้ภายใน 2 สัปดาห์
มีน้ำหรือเลือดออกทางช่องคลอด
:fire: พักหลังการเจาะ 1 วัน งดการออกแรงมาก งดร่วมเพศ4-5วัน
วิธีการเจาะ
เจาะโดยใช้เข็มขนาเล็กเจาะผ่านหน้าท้อง และผนังมดลูกเข้าสู่ถุงน้ำคร่ำ
ทำเมื่ออายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์
บทบาทการพยาบาล
ดูแลจัดท่า วัดความดันโลหิต และฟังFHS ทารก
ภายหลังการเจาะให้นอนหงาย กดแผลหลังจากเอาเข็มออก ประมาณ1นาที
1.ดูแลให้ปัสสาวะเพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก15 นาที ครบ1 ชั่งโมงและ วัด V/S 2ครั้ง ห่างกัน15 นาที
คือ การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดโดยเจาะน้ำคร่ำ เพื่อตรวจโครโมโซมทารกในครรภ์ที่ผิดปกติ
2.Amniotic fluid analysis
ความสมบูรณ์ของปอด นิยม3วิธี
:pencil2:ตรวจหาค่า (Lecithin Sphingomyelin Ratio) L/S ratio
เพื่อดู lung maturity ตรวจหาอัตราส่วนระหว่าง สารlecithin ต่อสาร sphingomyelin เป็นไขมันในน้ำคร่ำ
ค่าปกติของ L/S rotio
อายุครรภ์ 26-34 สัปดาห์ ค่า L / S ratio = 1:1
อายุครรภ์ 34-36 สัปดาห์ ค่าL จะเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่S จะมีปริมาณลดลงเล็กน้อย ทำให้ ratio สูงขึ้นเปลี่ยนเป็น 2:1
26 สัปดาห์เเรกการตั้งครรภ์ ค่าS > L
:fire:L / S ratio > 2 แสดงว่าปอดทารกสมบูรณ์เต็มที่ โอกาสเกิดRDS ต่ำ
:pencil2:ดูสีของน้ำคร่ำ มีเลือดปน ใสหรือขุ่น มีสีของขี้เทาปนหรือไม่
(Amniotic fluid clear, Thin meconium, Thik Meconium)
:pencil2:Shake Test
โดยใช้หลักการ การคงสภาพของฟองอากาศของสารลดเเรงตึงผิวของปอด (Surfactant)
วิธีการทำ
ใช้หลอด 5 หลอด ใส่นํ้าครํ่าจำนวน 1 cc , 0.75 cc ,
0.5 cc , 0.25 cc และ 0.2 cc
เติม normal saline solution ในหลอด2,3,4และ 5 ทำให้ส่วนผสมเป็น 1cc
เติม Ethanol 95% ทุกหลอด เขย่านาน15วิ ทิ้งไว้ 15 นาที
การแปลผล
:check: ถ้าพบฟองอากาศเพียงหลอดเดียวหรือไม่พบเลยเเสดงว่า ได้ผลลบ = การทดสอบปอดทารกยังเจริญไม่เต็มที่
:check:พบฟองอากาศ 2 หลอด แรก ได้ผล
intermediate =ปอดทารกยังไม่เจริญเต็มที่
:check: พบว่ามีฟองอากาศเกิดขึ้น3 หลอดเเรก ได้ผลบวก=ปอดของทารกเจริญเต็มที่
:warning:ถ้าได้ผลลบ ควรตรวจหา L/S ratio ต่อไปเพราะอาจเป็นผลลบลวง False negative แต่ผลบวกลวงพบได้น้อย
3.Alpha fetoprotein (AFP)
:explode:ระยะเวลาในการตรวจ 16-18 wks.
ค่าปกติAFP 2.0 – 2.5 MOM (Multiple of median)
ค่า AFP สูงขึ้นหลังจากสัปดาห์ที่ 15 ของการตั้งครรภ์ แสดงว่าทารกมีความผิดปกติ
:red_flag:anencephaly (ภาวะกะโหลกศีรษะไม่ปิด)
:red_flag:Turner Syndrome
พบในเพศหญิง มี
โครโมโซม X เพียงตัวเดียว
มีรูปร่างเตี้ย คอมีพังผืด และปลายแขนกางออก ไม่มีประจำเดือน
:red_flag:Spinabifida ความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง
:red_flag: Myelomeningocele ความผิดปกติใน 2 - 3 สัปดาห์ ของการตั้งครรภ์
ค่า AFP ตํ่า สัมพันธ์กับ Down’ syndrome
เป็นการตรวจเลือดมารดา ดูค่าโปรตีนที่สร้างมาจากรก ใช้ค่านี้ในการตรวจสอบความผิดปกติของรกและเนื้อเยื่อที่เกี่ยวกับรก
4.Fetoscopy
:star:Chorionic villous sampling (CVS)
ทำช่วง 10-13 wks. ไม่ควรทำ ก่อนอายุครรภ์ 10
สัปดาห์
คือการดูดเอาตัวอย่างของรกเด็กมาตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซม
:star: cordocentesis
การเจาะดูดเลือดจากหลอดเลือดสาย
สะดือ
ช่วงขณะอายุครรภ์ 18 สัปดาห์
ขั้นตอนการทำ
ตรวจสอบ FHS ก่อนและหลังทำ
:warning: ใช้ ultrasound เป็นตัวช่วยในการทำ
:warning: งดนํ้างดอาหารก่อนทำ 6-8 ชั่วโมง
ต้องตรวจสอบปริมาณนํ้าครํ่าหลังทำ
:warning: หลังทำงดการทำงานหนัก 1 – 2 สัปดาห์
คือการส่องกล้องดูทารกในครรภ์
หรือเรียก laparo amnioscope สอดเข้าไปในถุง
นํ้าครํ่าโดยผ่านผนังหน้าท้อง
Biophysical Assessment
Ultrasound
การใช้คลื่นเสียงที่มีความถี่สูงผ่านผิวหนังเข้า ไปเนื้อเยื่อที่ต้องการตรวจ ดูขนาดขอบเขต รูปร่าง การเคลื่อนไหวของอวัยวะ
แนวทางการตรวจ ultrasound
ดูจำนวนและการมีชีวิตของทารก
• ดูลักษณะและตำแหน่งของรก
• ปริมาณนํ้าครํ่า
• ประเมินอายุครรภ์และการเจริญเติบโตของทารก
• ตรวจ 4- chamber view ของหัวใจทารก
• ตรวจลักษณะทางกายวิภาคของทารก
ข้อบ่งชี้ Ultrasound ด้านมารดา
ตรวจดูภาวะแฝดนํ้า / นํ้าครํ่าน้อย
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์นอกมดลูก
• ตรวจดูตำแหน่งที่รกเกาะ
ข้อบ่งชี้ Ultrasound ด้านทารก
เพื่อตรวจดูจำนวนของทารกในครรภ์
ดูการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ หรือคาด
คะเนอายุครรภ์
เพื่อดู lie position และส่วนนำของทารกใน
ครรภ์
การแปลผล Ultrasound
:black_flag:ความยาวของทารก
(Crown-rump lerght : CRL)
อายุครรภ์ 7-14 week :explode:
ความยาวตั้งแต่ศีรษะถึงส่วนล่างสุดของกระดูกไขสันหลัง
:black_flag:Biparietal diameter : BPD
เส้นผ่าศูนย์กลางของส่วนที่ยาวที่สุดของศีรษะ
ของทารก :star:ตัววัดที่นิยมมากสุด
ช่วง 14 - 26 สัปดาห์คำนวณอายุครรภ์ :explode:
คือ BPD (ซม.) X 4สัปดาห์
:black_flag:ขนาดของถุงการตั้งครรภ์
(Gestational Sac : GS)
จะเห็นได้ในนระยะแรก อายุครรภ์ 5 -7 week :explode:
ใช้ยืนยันการตั้งครรภ์ ใช้ในการหาอายุครรภ์
โดยวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของถุงการตั้งครรภ์ ทั้ง3 แนวคือ กว้าง ยาว สูง
:black_flag:ความยาวของกระดูกต้นขา
(Femur length : FL)
วัดจากส่วนหัวกระดูก-ปลายแหลมของปลาย
กระดูก
ก่อนอายุครรภ์ 24 สัปดาห์ :explode:
:black_flag:เส้นรอบท้อง
(Abdominal circumference : Ac)
วัดยาก ไม่ค่อยนิยม
Fetal Biophysical profile
(BPP)
คือ การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ โดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูงตรวจวัดการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆ
4 ตัวแปร: การหายใจ, การเคลื่อนไหว, แรงตึงตัวของกล้ามเนื้อ, การเต้นของหัวใจทารก ร่วมกับการวัดปริมาณน้ำคร่ำอีก 1 ตัวแปร
วิธีการตรวจ
ใช้ Ultrasound ตรวจวัดข้อมูล 5 ตัวแปรที่ต้องการ
พบว่าปกติให้ 2 คะแนน และให้ 0 คะแนนเมื่อพบว่าผิดปกติ
ท่านอน Semi-fowler ตะแคงซ้ายเล็กน้อย
:warning:เกณฑ์ปกติ คะแนน =2สังเกตนาน 30 นาที
การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์ ขยับตัวหรือ
เคลื่อนไหวแขนขาอย่างน้อย 2 ครั้ง
แรงตึงตัวของกล้ามเนื้อ เหยียดตัว กางเเขนขา และหดกลับอย่างรวดเร็ว หรือกำและคลายมืออย่างน้อย 1 ครั้ง
การหายใจของทารกในครรภ์ หายใจต่อเนื่อง
อย่างน้อย 20 วินาที อย่างน้อย 1 ครั้ง
การเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้นไม่มากกว่า 15 ครั้ง/นาที ภายหลังการเคลื่อนไหว
ปริมาณน้ำคร่ำ ตรวจพบโพรงน้ำคร่ำอย่างน้อย 1 แห่ง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 2 ซม.
:warning:การแปลผล
4 คะเเนน แสดงว่ามีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
0-2 คะเเนน เเสดงว่า มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรังอย่างรุนเเรง ควรให้มีการคลอดโดยเร็ว
6 คะเเนน แสดงว่า มีภาวะเสี่ยงต่อการขาดออกซิเจนเรื้อรังของทารก ตรวจซ้ำ 4-6 ชม.
8-10 คะเเนน เสดงว่าปกติ ไม่มีภาวะเสี่ยงควรตรวจซ้ำใน 1 สัปดาห์
วิธีนับลูกดิ้น
Count to ten คือการนับการดิ้นของทารกในครรภ์ให้ครบ 10 ครั้ง ในช่วงเวลา 2 ชั่วโมงต่อกันในท่านอนตะเเคง
Cardiff count to ten คือ นับจำนวนเด็กดิ้นจนครบ 10 ครั้ง ในเวลา 4
ชั่วโมง นิยมให้นับในช่วงเช้า 8.00-12.00 น. ถ้ามีความผิดปกติ ในตอนบ่ายให้มาพบแพทย์ทันที
daily fetal movement record (DFMR) คือ การนับลูกดิ้น 3 เวลาหลังมื้ออาหาร ครั้งละ 1 ชั่วโมง ถ้าน้อยกว่า 3 ครั้งต่อชั่วโมง แปลผลว่าผิดปกติ
น.ส.ปิยะมาศ อนุรักษ์ เลขที่64
รหัสนักศึกษา602601065