Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ …
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
Biochemical Assessment
Amniocentesis
การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดโดยเจาะน้ำคร่ำ เพื่อตรวจโครโมโซม
ทารกในครรภ์ที่ผิดปกต
วิธีการเจาะ
ทําโดยวิธีการปราศจากเชื้อ เจาะโดยใช้เข็มขนาดเล็กเจาะผ่านหน้าท้อง และผนังมดลูกเข้าสู่ถุงน้ำคร่ำ
ทําเมื่ออายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน
ปวดเกร็งเล็กน้อยบริเวณท้องน้อย
การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
กลุ่มเลือด Rh negative
คําแนะนําหลังการเจาะ
อาการที่ต้องมาพบแพทย์
ปวดเกร็งหน้าท้องมา
มีไข้ภายใน 2 สัปดาห์
มีนํ้าหรือเลือดออกทางช่องคลอด
พักหลังจากการเจาะ1 วัน
ควรงดการออกแรงมาก
งดร่วมเพศ 4-5 วัน
บทบาทของพยาบาล
ดูแลให้ปัสสาวะเพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ดูแลจัดท่า V/S และฟังเสียงหัวใจทารก
จัดเตรียมอุปกรณ์ให้สะอาดปราศจากเชื้อ
ภายหลังเจาะให้นอนหงาย กดแผลหลังจากเอาเข็มออก ประมาณ 1 นาทีและปิดแผลด้วยพลาสเตอร์
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 15 นาที จนครบ 1
ชั่วโมง
วัด Vital signs 2 ครั้ง ห่างกัน 15 นาที
Amniotic fluid analysis
1.ดูสีน้ำคร่ำ มีเลือดปน ใสหรือขุ่น มีสีของขี้เทาปนหรือไม่
2.การตรวจหาค่า L/S ratio
เพื่อดู lung maturity
ค่าปกติของ L/S rotio
26 สัปดาห์ แรกของการตั้งครรภ์ ค่า S >
อายุครรภ์ 26-34สัปดาห์ ค่า L / S ratio = 1:1
อายุครรภ์ 34-36 สัปดาห์
L / S ratio >2
3.Shake Test
การทดสอบความสมบูรณ์ของปอดทารกใน
ครรภ์
การแปลผล
ฟองอากาศเกิดขึ้นใน3หลอด ได้ผลบวกแสดงว่าปอดของทารกเจริญเต็มที่
พบฟองอากาศ2หลอดแรกได้ผล
intermediate ปอดทารกยังไม่เจริญเต็มที่
พบฟองอากาศในหลอดเดียวหรือไม่พบเลย แสดงว่าได้ผลลบ
ถ้าได้ผลลบควรตรวจหาค่าL/S ratio ต่อไป
Alpha fetoprotein (AFP)
ค่า AFP สูงขึ้นหลังจากสัปดาห์ที่ 15
ค่าปกติAFP 2.0 – 2.5 MOM (Multiple of median)
เป็นการตรวจเลือดมารดา ดูค่าโปรตีนที่สร้างมา
จากรก
ค่า AFP ตํ่า สัมพันธ์กับ Down’ syndrome
Turner Syndrome
anencephaly
Spinabifida
โรคมัยอีโลเมนิ่งโกซีล
Fetoscopy
laparo amnioscope สอดเข้าไปในถุง
นํ้าครํ่าโดยผ่านผนังหน้าท้อง
ขั้นตอนการทํา
งดนํ้างดอาหารก่อนทํา 6-8 ชั่วโมง
ใช้ ultrasound เป็นตัวช่วยในการทํา
หลังทํางดการทํางานหนัก 1 – 2 สัปดาห์
ตรวจสอบ FHS ก่อนและหลังทํา
ต้องตรวจสอบปริมาณนํ้าครํ่าหลังทํา
Biophysical Assessment
Ultrasound คือ การใช้คลื่นเสียงที่มีความถี่สูง
ผ่านผิวหนังเข้าไปเนื้อเยื่อที่ต้องการตรวจ
แนวทางการตรวจ ultrasound
ดูจํานวนและการมีชีวิตของทารก
ดูลักษณะและตําแหน่งของรก
ปริมาณนํ้าครํ่า
ประเมินอายุครรภ์และการเจริญเติบโตของทารก
ตรวจ 4- chamber view ของหัวใจทารก
ตรวจลักษณะทางกายวิภาคของทารก
ข้อบ่งชี้ Ultrasound ด้านมารดา
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์ในระยะเริ่มแรก
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ
ตรวจดูตําแหน่งที่รกเกาะ
ตรวจดูภาวะแฝดนํ้า / นํ้าครํ่าน้อย
ตรวจในรายสงสัยครรภ์ไข่ปลาอุก
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์นอกมดลูก
การตั้งครรภ์ที่มีห่วงอนามัยอยู่ด้วย
เพื่อดูความผิดปกติ
ตรวจดูตําแหน่งที่เหมาะสมก่อนทํา
amniocentesis
ข้อบ่งชี้ Ultrasound ด้านทารก
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
ความผิดปกติของทารกในครรภ์
วินิจฉัยภาวะทารกตายในครรภ์
ดู lie position และส่วนนําของทารกใน
ครรภ์
IUGR
จํานวนของทารกในครรภ์
การแปลผล Ultrasound
Gestational Sac : GS ขนาดของถุงการตั้งครรภ์
Crown-rump lerght : CRL ความยาวของทารก
Biparietal diameter : BPD
Femur length : FL ความยาวของกระดูกต้นขา
Head cicumference : Hc
Abdominal circumference : Ac เส้นรอบท้อง
Fetal Biophysical profile
(BPP)
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
4 ตัวแปร
การหายใจ
การเคลื่อนไหว
แรง
ตึงตัวของกล้ามเนื้อ
การเต้นของหัวใจทารก
ร่วมกับวัดปริมาณน้ำคร่ำ
เกณฑ์ปกติ
2 คะแนน
สังเกตนาน 30 นาที
หายใจต่อเนื่อง
อย่างน้อย 20 วินาทีอย่างน้อย 1 ครั้ง
ขยับตัวหรือ
เคลื่อนไหวแขนขาอย่างน้อย 2 ครั้ง
แรงตึงตัวของกล้ามเนื้อ อย่างน้อย1 ครั้ง
การเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
ปริมาณนํ้าครํ่า
วิธีนับลูกดิ้น
Count
to ten
นับครบ
10 ครั้ง ในช่วงเวลา 2 ชั่วโมงต่อกัน
Cardiff count to ten
นับจํานวนเด็กดิ้นจนครบ 10 ครั้ง ในเวลา 4
ชั่วโมง
daily fetal movement record (DFMR)
การนับลูกดิ้น 3 เวลาหลังมื้ออาหาร ครั้งละ 1
ชั่วโมง
นับต่ออีก 6-12 ชั่วโมงต่อวัน
Electronic fetal monitoring
เครื่องมือ
Tocodynamometer หรือ tocometer
ultrasonic transduce
การเต้นของหัวใจทารกและคําต่างๆ
ที่เป็นสากล
Baseline features
ในช่วงที่มดลูกไม่หดรัดตัว
อัตราการเต้นของหัวใจทารก
Baseline fetal heart rate ปกติ110 – 160
ครั้ง/นาที
Tachycardia > 160 ครั้ง/นาที
Bradycardia < 110 ครั้ง/นาที
Variability
Absent : ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง
Minimal : มีการเปลี่ยนแปลง 0 ถึง 5beat /m
Moderate : มีการเปลี่ยนแปลง 6 ถึง 25
beat/
Marked : มีการเปลี่ยนแปลงมากกว่า 25
beat
Periodic change
acceleration การเพิ่มขึ้นของ FHR
อายุครรภ์ > 32 สัปดาห์
อายุครรภ์ < 32 สัปดาห์
deceleration
Early deceleration
พบได้ตอนท้ายของการเจ็บครรภ์คลอด เกิดจากการที่ศรีษะทารกถูก
กด
Late deceleration
FHR ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัว
ของมดลูก เกิดจากทารก hypoxia
Variable deceleration
การลดลงของ FHR ไม่นานเกิน 2 นาที พบใน prolapse cord
หรือ นํ้าครํ่าน้อย
Prolonged deceleration
การลดลงของ FHR นานอย่างน้อย 2 นาทีแต่ไม่
ถึง 10 นาที
Non-Stress Test (NST)
การแปลผล (NST)
Reactive หมายถึง
มี acceleration
มี baseline FHS ระหว่าง 120-160 ครั้ง/นาที
มี long term variability ที่ปกติ (6-25 bpm.)
ไม่มี deceleration
Non-reactive
ผลที่ได้จากการทดสอบ
ไม่ครบตามข้อกําหนดของ reactive NST
Suspicious
มีการเพิ่มของอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 2 ครั้งหรืออัตราการเพิ่มขึ้นน้อยกว่า 15 ครั้ง/นาที และอยู่สั้นกว่า 15 วินาที
Uninterpretable
คุณภาพของการ
ทดสอบไม่สามารถแปลผลได้ตามข้อกําหนด
Contraction Stress test ; CST
การแปลผล
Negative
UC 3 ครั้งใน10 นาที
Positive
พบ late deceleration ทุกครั้งในระยะท้ายของการหดรัดตัวของมดลูก
Suspicious
มี late deceleration แต่ไม่เกิดขึ้นทุก
ครั้งของการหดรัดตัวของมดลูก
Unsatisfactory
เส้นกราฟไม่มีคุณภาพเพียงพอ
หรือ UC ไม่ดีพอ
การติดตามผล CST
Negative
ทารกปกติ แนะนำให้นับลูกดิ้นและตรวจซ้ำใน1 สัปดาห์
Positive
ทารกพร่องออกซิเจน ช่วยเหลือโดย Intrauterine resuscitation และ
หยุด Oxytocin ทันที
หลังจากนั้น 15-30 นาทีให้
ทํา CST ซํ้า