Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพการดูแลช่วยเหลือมารดาทารกในระยะที่ 2,3,4 ของการคลอด (…
การประเมินภาวะสุขภาพการดูแลช่วยเหลือมารดาทารกในระยะที่ 2,3,4 ของการคลอด ( เข้ากลุ่มครั้งที่ 2 )
-
-
การพยาบาล
ในระยะแรกของการเบ่ง ควรนวดบริเวณ sacrum โดยให้ผู้คลอดนอนตะแคงซ้าย พยาบาลยืนอยู่ข้างหลัง นวดลึกๆ เป็นวงกลมท่ีบริเวณ sacrum ใช้มือกดให้คงท่ีสม่าเสมอไม่กดลึกจนเกินไป แต่ไม่ใช่เป็นการถูไปถูมาเร็วๆ
-
ท่านอน ในขณะท่ีมดลูกคลายตัว จะนอนพักในท่าใดก็ได้ท่ีรู้สึกสบายที่สุด แต่ในขณะที่มดลูกหดรัดตัวและมีแรงเบ่ง ควรนอนหงายชันเข่าขึ้น มอื ท้ังสองข้างจับที่ขอบเตียง หรือข้อเท้าทั้งสองข้างเพื่อช่วยให้ทารกเคลื่อนต่าได้เร็วข้ึน
อาการเป็นตะคริว ในระยะนี้จะเกิดได้มากจากการเกร็งอยู่ในท่าเดียวนานๆ ได้แก่ การชันเข่า หรือการนอนบนขาหยั่งนานๆ เพ่ือออกแรงในการ เบ่ง
-
แนะนำเก่ียวกับการเบ่ง เพราะแรงจากการหดรัดตัวของมดลูกจะย่ิ่งลดน้อยลงตามลำดับ เนื่องจากส่วนบนของมดลูกหดสั้นมาก ข้ึนทุกที ดังน้ันจึงควรแนะนำผู้คลอดเก่ียวกับการเบ่งที่ถูกวิธี
-
-
การตัดฝีเย็บ
-
ข้อบ่งชี้ในการตัดฝีเย็บ
ไม่จำเป็นสำหรับผู้คลอดทุกราย ขึ้นอยู่กับสัดส่วนระหว่างศีรษะของทารกกับฝีเย็บ ระยะเวลาการคลอด และความจำเป็นในการช่วยคลอด
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
นันทพร แสนศิริันธ์ และสุกัญญา ปริสัญากุล. ( 2558 ). การพยาบาลสตรีในระยะคลอด : แนวคิดทฤษฏีสู่การปฏิบัติ. เชียงใหม่ : โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.