Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับสมองเเละไขสันหลัง, นางสาวสุภาพร…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับสมองเเละไขสันหลัง
SpinalCord Injury
การ บาดเจ็บไขสันหลังรวมถึงรากประสาทที่อยู่ ในโพรงของกระดูกสันหลัง
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นตามหลังการบาดเจ็บ
2.Tetraplegia (Quadriplegia) การอ่อนแรงหรืออัมพาต ของแขนขา อาจเป็นทั้งหมดหรือ บางส่วน
3.Complete injury ความรุนแรงของพยาธิสภาพที่สมบูรณ์ สูญเสียการควบคุมกล้ามเนื้อ และความรู้สึกในระดับที่ต่ ากว่าพยาธิสภาพ ไม่พบการขมิบของกล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักและสูญเสีย ความรู้สึกรอบๆหรือ ในรูทวารหนัก
Paraplegia การอ่อนแรงหรืออัมพาตท่อนขา หรือทั้งท่อนขา และลำตัว อาจเป็นทั้งหมด หรือบางส่วน
4.Incomplete injury ความรุนแรงของพยาธิสภาพที่ไม่
สมบูรณ์ ยังพบว่ามีก าลังกล้ามเนื้อ หรือความรู้สึกของร่างกายในส่วนที่ต่ า กว่าพยาธิสภาพ
การวินิจฉัย
ปฏิกิริยาตอบสนอง ไดแกdeep tendon reflexes, bulbocavernosus reflex, perianal reflex, abdominal
reflex, cremasteric reflex เปนตน
•การรับความรูสึกที่ผิวหนัง บริเวณรอบ ๆ รูทวารหนัก (perianal) ในรูทวาร (deep anal) ขา ลำตัวดานขาง แขน และคอ ตามระดับ dermatomes จากบริเวณที่สูญเสียความรูสึกไปยังบริเวณที่ปกติ
การประเมินระดับ SCI ปัจจุบันใช้ ASIA
1.การตรวจหา Neurological level ซึ่งเป็นตำแหน่ง ล่างสุดที่มีความปกติทั้ง sensory และ motor function ทั้งสองข้าง
การตรวจหา Sensory level - การตรวจหา Motor level
การจัดระดับความรุนแรงความบกพร่องของระบบ ประสาทตาม ASIA
ASIA เเบ่งตามความบกพร่องของระบบประสาทไขสันหลัง 5 ระดับ
• ระดับ B หมายถึง Sensation spare only
•ระดับ C หมายถึง Motor useless (กล้ามเนื้อหลักสวนใหญมีกำลังน้อยกวาระดับ 3)
•ระดับ A หมายถึง Complete (nothing below level of injury, no sacral sparing)
•ระดับ D หมายถึง Motor useful (กล้ามเนื้อหลักสวนใหญมีกำลังตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป)
•ระดับ E หมายถึง Normal (กำลังของกล้ามเนื้อและการรับความรูสึก กลับมาเป็นปกติ)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
• ใช้คนอย่างน้อย 3 คน ยกผู้ป่วยถ้ามีเปลจะยกยายได สะดวกและปลอดภัยยิ่งขึ้น
• ถ้าผู้ป่วยหายใจไมสะดวกในท่านอนหงายอาจพลิกใหอยู่ ในท่านอนตะแคง ใหออกซิเจน และสังเกตอาการ วัดชีพจร การหายใจและความดันโลหิต เป็นระยะๆ
•ก่อนขนยายผู้ป่วย หาวัสดุอุปกรณมาดามตัวผู้ป่วยตั้งแต่ ศีรษะจรดหลัง พลิกตัวเปนทอน (log roll) ใหศีรษะและ ลำตัวเคลื่อนไปพรอมกัน จัดใหอยู่ในทำที่เจ็บปวดน้อย ที่สุด รักษาแนวโคงเวาของกระดูกสันหลังให้เป็นปกติถ้า กระดูกคอหักเคลื่อน ใช้หมอนทรายหรือของหนัก ๆ วาง ขนาบขางศีรษะ
การรักษากระดูกสันหลังที่หัก
การผ่าตัด (surgical treatment)
เป็นวิธีที่เหมาะสมที่สุดสำหรับ unstable fractures หรือมีเศษกระดูกกดที่ไขสันหลัง หรือรากประสาท ช่วยลดการกดทับ (decompression) เพิ่มโอกาสใหระบบ ประสาทฟนตัว
•การใช้ยาเพื่อบําบัดรักษาไขสันหลังที่ได รับบาดเจ็บ
methylprednisolone ขนาด
30 มก./ กก. เขาหลอดเลือดดำทันทีภายใน 8 ชั่วโมงแรกหลังไดรับ บาดเจ็บ
• การรักษาแบบประคับประคอง
(conservative treatment)
การดึงคอที่กะโหลกศีรษะสำหรับกระดูกคอที่หัก เคลื่อน และการจัดท่าเพื่อใหกระดูกสันหลังกลับเข้าที่
การดูเเลระบบหัีวใจเเละหลอดเลือด
• ผู้ปวยมีพยาธิสภาพตั้งแตระดับ T6 ขึ้นไป ในระยะ spinal shock ระบบประสาท อัตโนมัติ sympathetic ทำงานบกพ่รอง หลอดเลือดในสวนที่เป็นอัมพาตขยายตัวทำให
ความดันโลหิตต่ำลง
การดูเเลระบบหายใจ
ในระยะแรก การหายใจล้มเหลวและการติดเชื้อเป็น สาเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยตาย ผู้ป่วย tetraplegia บางคนหายใจไดเอง แต่ต่อมาหายใจลำบากมากขึ้น บ่งชี้ว่าการหายใจเริ่มล้มเหลว มีโรคแทรก หรือพยาธิ สภาพที่ไขสันหลังเพิ่มมากขึ้น
การดุเเลระบบทางเดินอาหาร
ในระยะแรก ลำไส้ไม่เคลื่อนไหว (paralytic ileus) ท้องอืดแนน และทำให้หายใจลำบาก วิธีป้องกันและแก้ไข ได้แก่งดอาหารและน้ำทางปาก ให้น้ าเกลือทางหลอดเลือดดำ ใสสาย NG tube เพื่อช่วยขับลมออก
การดูเเลการขับถ่ายปัสสาวะ
ป้องกันการติดเชื้อและป้องกัน กระเพาะปัสสาวะคราก(overdist )ป้องกันการติดเชื้อและป้องกันกระเพาะปัสสาวะคราก(overdistention) วิธีแก้ไข ได้แก่การคาสายสวนปสสาวะ (indwelling catheterisation) ในระยะแรกที่ผู้ป่วยได้น้ าเกลือและ ปัสสาวะถูกขับออก มาก ใชสาย foley ขนาด 12-16F
การดูเเลผัวหนัง
แผลกดทับ (pressure sore) มีโอกาสเกิดขึ้น เสมอ เมื่ออยูในท่าใดท่าหนึ่งนาน ๆ หรือ นอนแช่ อุจจาระปัสสาวะ มักเกิดที่ กระดูกกระเบนเหน็บ ด้านข้างขอตะโพกเชิงกราน ส้นเท้า ตาตุม และท้ายทอย วิธีป้องกัน ได้่แก่พลิกตัวผู้ป่วยทุก 2-3 ชม.
การดูเเลระบบกล้ามนื้อ เเละกระดูก
การป้องกันขอติดทำได้ ดังนี้จัดให้ขออยูในท่าที่ เหมาะสม เช่น ไหลกาง 90 องศา ปลายเท้าให้ ตั้งฉาก และใช่วัสดุ ประคับประคองขอและ บริหารขออย่างน้อยขอละ 10 ครั้ง วันละ 2 รอบ
การบาดเจ็บที่กระดูกสันหลังส่วนคอ ( cervical spine injury)
ไมขยับยืดเกินพิสัยปกติ (overstretch) เพราะจะทำให้เนื้อเยื่อรอบ ๆขอฉีกขาด และเกิด heterotopic ossification ในภายหลัง ได้
ผู้ป่วยมักจะมีประวัติอุบัติเหตุชัดเจนและมีอาการ
ปวดต้นคอ กล้ามเนื้อคอแข็งเกร็ง, ปวด, บวม, อาจมีรอยฟกช้ าของเลือด
การเเบ่งชนิดของการบาดเจ็บของกระดูกส่วนคอ
การบาดเจ็บของกระดูกต้นคอส่วนล่าง (Sub -axial Cervical spine injuries)
3.Extension compression เกิดจากแรงกระท าต่อ cervical spine ในท่า extension ทำให้เกิดfracture ในส่วนของ posterior elemen
4.Distraction flexion พบมากที่สุดใน series ของ
Allen and Ferguson (61%) เกิดจากแรงกระชาก
2.Vertical compression เกิดจากแรงกระแทกโดยตรงต่อ vertebral body ทำให้เกิดการแตกกระจายของ vertebral body
5.Distraction extension เกิดจากแรงกระชาก (distraction force) ในขณะที่ cervical spine อยู่ในท่า flexion
Compression flexion เกิดจาก compression force ที่กระทำต่อ cervical spine
6.Lateral flexion (compression) เกิดจากแรง compression ใน coronal plane
การบาดเจ็บของกระดูกต้นคอส่วนล่าง ( Lower Cervical spine injuries)
การผ่าตัดจะพิจารณาใส่ เครื่องช่วยพยุงหลัง (spinal orthosis or brace) หรือใส่เฝือก (extension casting) ในกรณีที่ ต้องการ rigid immobilization โดยเฉพาะใน Burst fracture การ conservative treatment ได้ผลดีในผู้ป่วยที่มี bony fracture
การรักษาโดยวิธี conservative treatment
เริ่มจากการให้ผู้ป่วยนอนราบ เพื่อลดอาการปวดหรืออาจพิจารณา
จัดท่าให้ นอนหลังแอ่นเพื่อจัดกระดูก (postural reduction) ซึ่งนิยมใช้ในกรณีที่กระดูกมี การทรุดตัวมากโดยเฉพาะใน Burst fracture แล้วจึงใส่เฝือกหรือ orthosis
เพื่อให้กระดูกอยู่นิ่งจนกระดูกติดซึ่งโดยมากใช้
ระยะเวลาประมาณ 3-4 เดือน
การบาดเจ็บของกระดูกต้นคอส่วนบน (Upper
Cervical spine injury)
3.Ring Fracture of C1 (Jefferson fracture) เป็นการแตกผ่าน lateral mass ของ C1
2.Atlanto occipital dislocation คือการเลื่อน หลุดของ Occiput จาก Cervical spine
4.Odontoid Fracture เป็นการหักผ่าน
Den ของ C2
1.Occipital condyle Fracture คือการแตกของ กระดูกส่วน Occipital condyle
5.Axis Fracture (Hangman’s Fracture) เป็นการแตกผ่าน Facet joint ของ C2
การรักษาการบาดเจ็บของกระดูกต้นคอส่วนบน (Upper
Cervical spine injury)
รักษาด้วยวิธีการอนุรักษ์โดยใช้ Rigid
Brace หรือ Halo vest ได้ผลดีการ รักษาด้วยการผ่าตัดจะใช้ในกรณีที่
fracture ไม่ stable
นางสาวสุภาพร ภิญโญ เลขที่ 69