Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.2 การให้บริการฝากครรภ์ (Antenatal care : ANC), การประเมินภาวะสุขภาพมารดา…
5.2 การให้บริการฝากครรภ์ (Antenatal care : ANC)
การประเมินภาวะสุขภาพมารดา-ทารก
และ การประเมินภาวะเสี่ยง
การตรวจครรภ์
การเตรียมก่อนการตรวจครรภ์
บอกวัตถุประสงคืการตรวจให้ทราบ
จัดท่านอนให้เหมาะสม
ผู้ตรวจเข้าข้างขวาของหญิงตั้งครรภ์
ตรวจในสถานที่มีความเป็นส่วนตัว
การดู
ขนาดหน้าท้อง
ลักษณะหน้าท้อง
รูปร่างหน้าท้อง
transverse lie
Longitudinal lie
การคลำใช้หลักของ Leopold’s maneuver
ทา่ที่ 2 Second Leopold’s handgrip (Umbilical grip)
ทา่ที่ 3 Third Leopold’s handgrip (Pawlik grip)
ทา่ที่ 1 First Leopold’s handgrip (Fundal grip)
ทา่ที่ 4 Forth Leopold’s handgrip(Bilateral inguinal grip)
การฟัง
การฟัง FHS ฟังได้เมื่ออายุครรภ์ 18-20 w
อัตราปกติ110-160 ครั้ง/นาที
การตรวจร่างกาย
สังเกตการเดิน
ชั้งน้ำหนัก
ตลอดตั้งครรภ์ควรเพิ่ม 10-12 กิโลกรัม
ไตรมาสแรก เพิ่ม 1-1.5 kg
ไตรมาส 2 เพิ่มอีก 4-5 kg
ไตรมาส 3 เพิ่มอีก 5-6 kg
BMI
BMI 18.5-24.9 กิโลเมตร2 (ปกติ) ควรเพิ่ม 11.5-16 kg
BMI < 18.5 กิโลเมตร2 (ตา ่กว่าเกณฑ์) ควรเพิ่ม 12.5-18 kg
BMI 25-29.9 กิโลเมตร2 (เกินเกณฑ์) ควรเพิ่ม 7-11.5 kg
BMI > 30 กิโลเมตร2 (อว้น) ควรเพิ่มไมเ่กิน 5-9.1 kg
วัดส่วนสูง < 145 ซม.เชิงกรานมีขนาดเล็ก อาจคลอดยาก
วัดความดันโลหิต ไมค่วรเกิน 130/90 mmHg
ตรวจร่างกายทั่วไป
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจ CBC
MCV
Platelets
Hct
ตรวจ DCIP
ตรวจหาพาหะธาลัสซีเมีย
ตรวจหาหมเู่ลือด ABO และ Rh
ตรวจ HBsAg
ตรวจ VDRL
ตรวจเชื้อ HIV
รตรวจปัสสาวะ
การซักประวัติ
ประวัติส่วนตัว
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
ระบบ GPAL
ระบบ TPAL
ระบบ GP
ประวัติเิจ็บป่วยของบคุคลในครอบครัว
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
ความไม่สุขสบายหรืออาการผิดปกติต่างๆ
การตรวจพิเศษต่างๆ
การตรวจคลื่นเสียงความถี่สงู (Ultrasonography)
การตรวจวินิจฉัยด้วย 100 g OGTT
Non-stress test (NST)
การตรวจคัดกรองด้วย 50 g OGCT
การคัดกรองภาวะเสี่ยง
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
ประวัติทางสูติกรรม
ประวัติทางอายุรกรรม
นางสาวจารุนันทน์ ภูคำสัน 61010177 กลุ่ม 03