Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ …
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
Electronic fetal monitoring
Non-Stress Test (NST)
ข้อบ่างใช้
ตั้งครรภ์เกินกำหนด
ทารกเติบโตช้าในครรภ์
มารดาเป็นเบาหวาน
ทารกในครรภ์ดิ้นน้อย
มารดามีอายุมากกว่า 35 ปี
การแปลผล
Reactive
acceleration การเพิ่มขึ้นของอัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 15 ครั้ง/นาที คงอยู่นานอย่างน้อย 15 วินาที
มี long term variability ที่ปกติ (6-25 bpm)
ไม่มี deceleration
non-reactive
ผลจากการทดสอบไม่ครบตามข้ำกำหนดของ reactive NST ทดสอบนาน 40 นาที
suspicious
การเพิ่มขึ้นของอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 2ครั้งหรือ เพิ่มขึ้นน้อยกว่า 15 ครั้ง/นาที่ อยู่สั้นกว่า 15 วินาที
Uninterpretable
คุฯภาพของการทดสอบไม่สามารถแปลผลได้ตามข้อกำหนด
Contraction Stress Test : CST
การติดตาม
negative
ทารกอยู่ในสภาพปกติ
positive
ทารกอยู่ในสภาพพร่องออกซิเจน
การทดสอบการเปลี่ยนแปลงอัตราการเต้นของหัวใจทารกในขณะมดลูกหดรัดตัว
การแปลผล
positive
พบlate deceleration ทุกครั้งในระยะท้ายการหดรัดตัวมดลูก
negative
UC 3 ครั้ง ใน 10 นาที
suspicious
มี late deceleration แต่ไม่เกิดขึ้นทุกครั้งของการหดรัดตัวมดลูก
unsatisfactory
เส้นกราฟไม่มีคุณภาพเพียงพอ
Biophysical Assessment
ultrasound
ข้อบ่งชี้ด้านมารดา
ตรวจดูตำแหน่งที่รกเกาะ
ตรวจดูภาวะแฝดน้ำ/น้ำคร่ำน้อย
ตรวจในรายที่สงสัยครรภ์ไข่ปลาอุก
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ
วินิจฉัยการตั้งครรภ์นอกมดลูก
การตั้งครรภ์ที่มีห่วงยางอนามัยอยู่
ข้อบ่งชี้ด้านทารก
ตรวจดูจำนวนทารกในครรภ์
เพื่อดู lie position
เพื่อวินิจฉัยทารกตายในครรภ์
ตรวจดูความผิดปกติกของทารก
ดูการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
การแปลผล
Gs ขนาดของถุงการตั้งครรภ์
AC เส้นรอบท้อง
เกณฑ์ปกติ คะแนน = 2 สังเกตนาน 30 นาที
แรงตึงตัว เหยีดตัว กางแขนขา หดกลับอย่างเร็ว อย่างน้อย 1 ครั้ง
การหายใจ หายใจอย่างน้อย 1 ครั้งนาน 30 วินาที
การเคลื่อนไหวของทารกขยับตัวหรือเคลื่อไหวแขนอย่างน้อย 2 ครั้ง
การเต้นของหัวใจ อัตราการเต้นไม่เพิ่มมากกว่า 15 ครั้ง/นาที
ปริมาณน้ำคร่ำ พบโพรงอย่างน้อย 1 แห่ง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 2 cm
วิธีนับลูกดิ้น
Cardiff count to ten
นับจำนวนเด็กดิ้นจนครบ 10 ครั้งในเวลา 4ชั่วโมง นิยมนับ 8.00-12.00 น.
Count to ten
การนับให้ครบ 10 ครั้งในช่วงเวลา 2 ชั่วโมงติดต่อกัน ในท่านอนตะแคง
daily fetal movement record : DFMR
การนับ 3 เวลาหลังมื้ออาหาร ครั้งละ 1 ชั่วโมง
Biochemical Assessment
Fetoscopy
การส่องกล้องดูทารกในครรภ์
ขั้นตอนการทำ
ใน Ultrasound เป็นตัวช่วยในการทำ
ตรวจสอบปริมาณน้ำคร่ำหลังทำ
ตรวจสอบ FHS ก่อนและหลังทำ
งดการทำงาน 1-2 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน เลือดออกทางช่องคลอด การติดเชื้อ
งดน้ำและอาหารก่อน 6-8 ชั่วโมง
Alpha fetoprotein : AFP
เป็นค่าโปรตีนที่สร้างมาจากรก ใช้ในการตรวจสอบความผิดปกติของรก และเนื้อเยื่อของรก
ค่าปกติ 2.0-2.5 MOM
ค่า AFP ต่ำ สัมพันธ์กับ Down's syndrome
ค่า AFP สูงขึ้นในสัปดาห์ที่ 15 แสดงว่าทารกมีความผิดปกติของ open neural tube
Amniotic fluid analysis
2.Lecithin Sphingomyelin Ratio
อายุครรภ์ 26-34 สัปดาห์ ค่า L/S = 1
อายุครรภ์ 34-36 สัปดาห์ ค่า L จะเพิ่มมาก ทำให้ ratio สูง
L/S ratio มากกว่า 2 แสดงว่าปอดทำงานสมบูรณ์ไม่เกิดภาวะ RDS
26 สัปดาห์ ค่า S มากกว่า L
Shake Test
การทดสอบความสมบูรณ์ของปอดทารกในครรภ์ ใช้หลักการของความสามารถในการคงสภาพของฟองอากาศ
การแปลผล
ถ้าพบฟองอากาศเกิดขึ้น 3 หลอดแรก แสดงว่าได้ผลบวก ปอดเจริญเต็มที่
ถ้าพบฟองอากาศ 2 หลอด ปอดยังเจริญไม่เต็มที่
ถ้าพบเพียงหลอดเดียวหรือไม่พบเลย แสดงว่าปอดยังเจริญไม่เต็มที่
1.การดูสีน้ำคร่ำ มีเลือดปนใสหรือขุ่น
Amniocentesis
การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดโดยเจาะน้ำคร่ำ เพื่อตรวจหาโครโมโวมที่ผิดปกติ
วิธีการเจาะ
ใช้เข็มขนาดเล็กเจาะผ่านทางหน้าท้อง และผนังมดลูกเข้าสู่ถุงน้ำคร่ำ
อายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน
กลุ่มเลือด Rh negative มารดาสร้างภูมิต้านทานต่อเม็ดเลือดแดงของทารกในครรภ์
การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
ปวดเกร็งเล็กน้อยบริเวณท้องน้อย
คำแนะนำหลังเจาะ
พักหลังเจาะ 1 วัน งดออกกำลังกายมาก และงดการมีเพศสัมพันธ์ 4-5 วัน ไม่เดินทางไกลภายใน 7 วันหลังเจาะ
อาการที่ต้องมาพบแพทย์
ไข้ภายใน 2 สัปดาห์
มีน้ำหรือเลือดออกทางช่องคลอด
ปวดเกร็งหน้าท้องมาก
การพยาบาล
จัดเตรียมอุปกรณ์ให้ปราศจากเชื้อ
ภายหลังเจาะให้นอนหงาย กดแผลหลังจากเอาเข็มออก ประมาณ 1 นาที
ดูแลจัดท่า วัดความดัน และฟังFHS
ฟัง FHS ทุก 15 นาที จนครบ 1 ชั่วโมง
ดูแลให้ปัสสาวะเพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
วัดสัญญาณชีพทุก 2 ครั้ง ห่าง 15 นาที