Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด และการสื่อสารเพื่อการบําบัด,…
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด และการสื่อสารเพื่อการบําบัด
การสื่อสารเพื่อการบําบัด (Therapeutic Communication)
องค์ประกอบที่มีผลต่อการสื่อสารเพื่อการบําบัด
สถานที่ (place or setting)
ท่านั่ง (seating)
ระยะห่างระหว่างพยาบาลกับผู้ปุวย (space)
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบําบัด
เทคนิคการกระตุ้นและส่งเสริมการสนทนา
เทคนิคที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้ปุวยพูดระบายความคิดความรู้สึก
เทคนิคการส่งเสริมให้ผู้ปุวยรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
เทคนิคที่ช่วยพยาบาลกับผู้ปุวยเข้าใจให้ตรงกัน
เทคนิคช่วยส่งเสริมความเข้าใจในการปรับตัวผู้ปุวย
หลักปฏิบัติในการสื่อสาร
ฟังทั้งเนื้อหาและเจตนาว่าผู้ปุวยพูดถึงอะไรหมายความว่าอย่างไร
ไม่เสนอข้อมูลมากเกินไปจนทําให้ผู้ปุวยสับสน เบื่อหน่าย
ไม่พูดถึงอดีตที่ปวดร้าวเกินไป ขณะที่ผู้ปุวยยังไม่พร้อม
สื่อสารที่เน้นเรื่องราวที่เป็นปัจจุบัน
ใช้หลักการสื่อสารที่ให้ผู้ปุวยได้มีโอกาสระบายความรู้สึก
ใช้หลักการต่างๆที่ง่ายๆ ชัดเจน ตรงไปมา
ให้สําคัญกับความสอดคล้องระหว่างเนื้อหา คําพูด ท่าทาง สีหน้า และน้ําเสียงของพยาบาล
อุปสรรคในการติดต่อสื่อสาร (Block to therapeutic Communication)
การใช้เทคนิคการสนทนาไม่เหมาะสม
การดําเนินวิธีการสื่อสาร และใช้เทคนิคการสื่อสารที่ไม่เหมาะสม
สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม
ข้อจํากัดทางอาการของผู้ปุวย
ท่านั่ง ที่แสดงถึงความไม่สนใจผู้ปุวย
ระยะห่างระหว่างบุคคลมาหรือน้อยเกินไป
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด และการสื่อสารเพื่อการบําบัด
สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้ปุวย (Nurse – Patient Relationship)
พยาบาลและผู้ปุวยได้มีการติดต่อ เกี่ยวข้องกันชั่วระยะเวลาหนึ่ง
พยาบาลมี บทบาทในการที่จะช่วยให้ผู้ปุวย หรือผู้ใช้รับบริการให้ได้รับการตอบสนองความต้องการ ช่วยแก้ปัญหาและช่วยให้ฟื้นจากความเจ็บปุวยทางจิตด้วย ความรู้ความสามารถของพ
เป้าหมายในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด เพื่อให้ผู้ปุวย
ตระหนักในตนเอง ยอมรับตนเอง และเพิ่มความนับถือตนเองให้มากขึ้น
รู้จักตนเองดีขึ้น และปรับปรุงตัวเองด้านความคิดและการแสดงออก
มีความสามารถที่จะสร้างความสนิทสนมคุ้นเคยกับผู้อื่น พึ่งพาผู้อื่นพอควร มีสัมพันธภาพ กับผู้อื่น โดยสามารถเป็นผู้ให้และผู้รับ
ปรับปรุงการกระทําหน้าที่ในการดํารงชีวิต และเพิ่มความสามารถที่จะทําตามความต้องการ และความจําเป็นต่าง ๆ ให้ได้รับความพึงพอใจและบรรลุเปูาหมายที่เป็นจริง
ให้โอกาสผู้ปุวยได้ระบายความรู้สึกไม่สบายใจ ทําให้ผู้ปุวยเข้าใจปัญหาของตนเอง และเกิด การเรียนรู้ในการปฏิบัติตนที่เหมาะสมได้
ระยะการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด (Phase of therapeutic relationship)
1.ระยะก่อนการสนทนา (Pre interacting phase)
1.1 เตรียมตัวให้ชัดเจนในด้านเปูาหมายของการสร้างสัมพันธภาพกับผู้ปุวย
1.2 วางแผนการสนทนาในแต่ละครั้งเกี่ยวกับวัตถุประสงค์การสนทนา สถานที่ เวลา และ ให้ข้อมูลต่าง ๆ กับทีมผู้รักษาได้ร่วมรับรู้
1.3 ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของผู้ปุวยเกี่ยวกับแผนการรักษาที่ผ่านมา ปัญหาที่เคยเกิดขึ้น และภูมิ หลังบางประการ
1.4 พยาบาลควรตรวจสอบสภาพด้านร่างกายและจิตใจของตนเองให้มีความพร้อมในด้าน แนวความคิด และความรู้สึกในการเข้าไปสร้างสัมพันธภาพกับผู้ปุวย
2.ระยะเริ่มต้นของสัมพันธภาพ (Initiating phase)
การเตรียมสถานที่และบรรยากาศให้น่าไว้วางใจ
เมื่อพบหน้ากันควรกล่าวทักทายด้วยท่าทางเป็นมิตร
กําหนดของตกลงในการสร้างสัมพันธภาพ
สร้างความไว้วางใจ โดยดารพแสดงถึงการยอมรับ ความเข้าใจ
การค้นหา หรือระบุปัญหาที่แท้จริง
ความวิตกกังวล (Anxiety)
การทดสอบ (Testing)
การต่อต้าน (Resistance)
3.ระยะแก้ไขปัญหา (Working phase)
รักษาสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
ค้นหาสาเหตุปัญหา หรือสิ่งที่มากระทบการดําเนินชีวิต
ประเมินการเจ็บปุวยว่ามีผลกระทบอย่างไรบ้างกับชีวิต
ร่วมกับผู้ปุวยในการวิเคราะห์หาสาเหตุ
สนับสนุนด้านจิตใจ
4.ระยะยุติสัมพันธภาพ (Termination phase
การเตรียมผู้ปุวย
เปิดโอกาสให้ผู้ปุวยสรุปสิ่งที่เกิดขึ้นในกระบวนการสร้างสัมพันธภาพ
สําหรับพยาบาลควรสรุปในส่วนที่ได้ร่วมแก้ปัญหากับผู้ปุวยโดยมุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลง ที่ดีขึ้นในตัวผู้ปุวย
ประเมินปฏิกิริยาของผู้ปุวยในระยะยุติสัมพันธภาพและให้เวลาผู้ปุวยได้บอกความรู้สึก
ยุติหรือสิ้นสุดสัมพันธภาพในรูปแบบของวิชาชีพ
นางสาว ปิยะวดี ไทยแท้ รุ่น 36 /1 เลขที่ 74 นางสาว สุวนันท์ จันทร์เสม รุ่น 36/2 เลขที่ 48