Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล, นางสาวนภสร สุตัน เลขที่ 40…
บทที่ 5 เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล
การเจรจาต่อรอง
(Negotiation)
กระบวนการที่ 2 คนขึ้นไป ติดต่อสื่อสารเพื่อหารือความต้องการ หรือผลประโยชน์ที่แตกต่างกัน เพื่อหาข้อสรุปร่วมกันหรือและเป็นที่พอใจของทั้ง 2 ฝ่าย
จุดประสงค์ของการเจรจาต่อรอง
ขจัดความขัดแย้งที่เกิดขึ้น หรือข้อเสนอที่แตกต่างกันเพื่อให้ผู้เจรจาได้สิ่งที่ต้องการ และรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับอีกฝ่ายหนึ่งได้ด้วย
องค์ประกอบของการเจรจาต่อรอง
บุคคลที่มีความคิดเห็น หรือความต้องการที่แตกต่างกัน
กระบวนการ ที่มีขั้นตอน ตั้งแต่วิเคราะห์ วางแผน และช่วงเจรจา
ความพยายามที่จะแก้ปัญหา เรื่องที่จะเจรจา คือจุดประสงค์ของการที่ทั้งสองฝ่ายต้องประชุมตกลงกัน
ความแตกต่าง แต่ละฝ่ายต้องตระหนักว่าทั้งคู่มีความแตกต่างกัน ต้องทำความเข้าใจในแต่ละฝ่ายก่อน
กระบวนการเจรจาต่อรอง ของร็อบบินส์
ขั้นเตรียมการและวางแผน
(preparation and planning)
ก่อนเจรจาต้องมีข้อมูล ความต้องการของ 2 ฝ่าย กำหนดกลยุทธ์โดยใช้หลัก BATNA
ขั้นกำหนดกฏกติกาพื้นฐาน
(definition of ground rules)
ก่อนเริ่มการเจรจาควรกำหนดกฎกติกาพื้นฐาน และขั้นตอนระหว่างการเจรจาให้เป็นที่เข้าใจตรงกันก่อน
ขั้นทำความชัดเจนและหาเหตุผลสนับสนุน
(clarification and justification)
ทั้ง 2 ฝ่ายควรแลกเปลี่ยนข้อมูล
ในประเด็นที่แต่ละฝ่ายต้องการ
และหาเหตุผลสนับสนุนจุดยืนของตน
ขั้นการต่อรองและแก้ปัญหา
(bargaining and problem solving)
ขั้นตอนนี้สำคัญ ควรมีทั้งการให้และการรับ
(Give and take) เพื่อให้ได้ข้อยุติ
ขั้นจบการเจรจาและนำไปสู่การปฏิบัติ
(closure and implementation)
การได้ข้อตกลงอย่างเป็นทางการ
จะต้องดำเนินการในรายละเอียดและจัดทำ
ขั้นตอนสู่การปฏิบัติต่อไป
เทคนิคการเจรจาต่อรอง
การต่อรองแบบนุ่ม
ผู้ต่อรองยินดีเสนอและยินยอมคู่เจราจาในบางประเด็น
ข้อดี: รักษาสัมพันธภาพ ลงเอยด้วยดี
ข้อเสีย: การต่อรองอาจทำให้เสียเปรียบคู่เจรจาที่ใช้การต่อรองแบบแข็ง
การต่อรองแบบแข็ง
ผู้เจรจายึดจุดยืนของตนเป็นหลัก
ข้อดี: ข้อตกลงอาจยุติโดยที่ตนเป็นได้เปรียบ
ข้อเสีย: ทำให้เสียสัมพันธภาพ
หัวใจสำคัญในการเจรจาต่อรอง
เริ่มต้นด้วยการเปิดฉากเชิงบวก มีไมตรีที่ดีต่อกัน เลี่ยงการใช้ถ้อยคำรุนแรง
บุคคล ควรแยกคนออกจากปัญหา
ความสนใจ เน้นผลประโยชน์ร่วมกัน
ทางเลือก ควรหาทางเลือกที่มีประโยชน์ต่อทุกฝ่ายก่อนยุติการเจรจา ทางเลือกควรเป็นชนิด win – win solution คือ แบบ ชนะ – ชนะ
เกณฑ์ ต้องตกลงกันตามกฏเกณฑ์ที่ยอมรับของทุกฝ่าย
การตัดสินใจแก้ไขปัญหา
(Decision Making)
การเลือกเอาวิธีปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง
จากวิธีปฏิบัติหลาย ๆ อย่างที่มีอยู่
มาใช้ให้เหมาะสมกับสภาพการณ์
ความสำคัญของการตัดสินใจ
ช่วยให้เกิดแนวทางปฏิบัติที่มีคุณภาพ
ช่วยลดความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน
ช่วยให้บุคคล ปราศจากความวิตกกังวลและสภาพที่ถูกบังคับในจิตใจ
ช่วยให้บุคคลเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในความสำเร็จของตนเองที่การตัดสินใจนั้นๆก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อผู้อื่นได้
ช่วยให้บุคคลมั่นใจและมีการพัฒนาศักยภาพของตน
ช่วยให้ประหยัดเวลา แรงงาน ทรัพยากรในการปฏิบัติ
กระบวนการตัดสินใจ
การระบุปัญหาหรือกำหนดปัญหา
เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
หาวิธีการแก้ปัญหาวิเคราะห์ทางเลือก
พิจารณาถึงผลดีผลเสียของแต่ละวิธี
เลือกวิธีที่ดีที่สุดไปใช้
ดำเนินการสั่งการ
ประเมินผลการตัดสินใจ
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรม
การตัดสินใจของผู้บริหาร
วัฒนธรรมและความเชื่อถือของบุคคล (Belief)
ประสบการณ์และการรับรู้ในอดีต (Experience)
อคติและความลำเอียง (Bias)
การบริหารเวลา
(Time Management)
ระบบการบริหารเวลา
(Time Management System) 3 ขั้นตอน
การกำหนดความสำคัญ (Set Priorities)
อาจใช้วิธี A-B-C (A-B-C
Strategy)
A = มีความสำคัญมากต้องทำก่อน
B = มีความหมายสำคัญเช่นกัน ถ้ามีเวลาก็ควรทำ
C = ถ้าไม่ทำขณะนี้คงไม่เป็นไร เมื่อทำอย่างอื่นเสร็จแล้วจึงค่อยทำงาน
การวางแผน (Planning)
ลำดับงานที่จะทำ
ยึดหลัก 4W (The Who What Where and When)
ทรัพยากรทางการบริหารที่ต้องการ
การติดตามผล
แผนสำรอง
การปฏิบัติตามตารางเวลาที่กำหนด (Protecting Schedule Times)
กลยุทธการบริหารเวลา
ผู้บริหารที่ไม่มีเวลา
ใช้เวลาส่วนใหญ่เกี่ยวกับการประชุม ปฏิบัติงานด่วนที่ไม่อยู่ในแผน
ผู้บริหารที่มีเวลา
ใช้เวลาส่วนใหญ่ในการวางแผนการประชุม ใช้โทรศัพท์ติดต่องาน เพิ่มพูนความรู้อยู่เสมอ
เทคนิคการบริหารการใช้เวลา
ที่มีประสิทธิภาพ
จดบันทึกการใช้เวลาประจำวัน
วิเคราะห์สาเหตุของการรบกวนเวลาหรือการสูญเสียเวลาไปโดยไม่จำเป็น
ปรับปรุงข้อบกพร่องหรือสาเหตุที่ทำให้เสียเวลาตามที่วิเคราะห์ได้
การบริหารความขัดแย้ง
(Conflict Management)
ผลจากความขัดแย้ง
ผลทางลบ
การสื่อสารถูกบิดเบือนไม่ทั่วถึง
ไม่ได้รับความร่วมมือ
ไม่ยอมรับซึ่งกันและกัน
ขาดความคิดริเริ่มใหม่ๆ
คุณภาพการตัดสินใจต่ำ
อาจทำให้ผู้บริหารใช้อำนาจเป็นเผด็จการมากขึ้น
ผลทางบวก
เกิดความคิดริเริ่มใหม่ๆ ในการทำงาน
การควบคุมการปฏิบัติงานจะดีขึ้น
ความรอบคอบ ความมีเหตุมีผลในการแก้ปัญหา
เกิดการพัฒนาวิธีการทำงานใหม่ๆ
ประเภทของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งตามแนวตั้ง (Vertical Conflict)
เช่น ความขัดแย้งระหว่างผู้อำนวยการ กับหัวหน้าพยาบาล
ความขัดแย้งตามแนวนอน (Horizontal Conflict)
เช่น ความขัดแย้งระหว่างหัวหน้าหอผู้ป่วยกับหัวหน้าหอผู้ป่วย เป็นต้น
ความขัดแย้งตามแนวทแยงมุม (Diagonal Conflict)
เช่น ความขัดแย้งระหว่างแพทย์กับพยาบาล เป็นต้น
สาเหตุของความขัดแย้ง
ผลประโยชน์
บทบาทไม่ชัดเจน
เป้าหมายการทำงาน
อำนาจ
การเปลี่ยนแปลง
การบริหารความขัดแย้ง ฟอลเลต (Mary Parker Follett)
การชนะ–แพ้ (Domination): ฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ชนะ
การประนีประนอม (Compromise): ต่างฝ่ายต่างได้เพียงบางส่วน
การประสานประโยชน์ (Integrated Solution): เน้นความพอใจของทั้งสองฝ่ายมากที่สุด
ความขัดแย้งในงานการพยาบาล
การมีพฤติกรรมที่ต่อต้านหรือฝ่าฝืน
ความเครียด
อำนาจหน้าที่ของแพทย์
ความเชื่อ ค่านิยมและเป้าหมาย
สาเหตุอื่นๆ เช่น การเปลี่ยนแปลง
การเสริมพลังอำนาจ
(Empowerment)
เป็นการเพิ่มศักยภาพของบุคคล
ความสำคัญของการเสริมสร้างพลังอำนาจ
ความสำคัญต่อบุคคลในองค์กร
การเสริมสร้างพลังอำนาจบุคคลระดับผู้ปฏิบัติงาน
การเสริมสร้างพลังอำนาจระดับผู้บริหาร
ความสำคัญต่อทีมงาน
ทุกคนในทีมรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของและรับผิดชอบร่วมกันในผลงานที่จะเกิดขึ้น มีการปรับปรุงและพัฒนาการทำงานของทีมอย่างต่อเนื่อง ทำให้ผลิตผลจากการทำงานเพิ่มสูงขึ้น
ความสำคัญต่อระดับองค์กร
ทำให้ผู้ปฏิบัติงานมีขวัญและกำลังใจในการทำงาน เกิดความพึงพอใจในงาน ปฏิบัติงานให้หน่วยงานอย่างเต็มความสามารถ มีความสุขกับการทำงาน และในที่สุดทุกคนจะมีความยึดมั่นผูกพันต่อองค์กร
กลยุทธ์การเสริมสร้างพลังอำนาจ
การบริหารงานอย่างมีส่วนร่วม
(participative management)
สร้างเป้าหมายงาน
(goal setting)
สร้างระบบการให้ข้อมูลย้อนกลับ
(feed back system)
จัดระบบเสริมแรง
(competence based reward)
จัดระบบงานที่ท้าทาย
ทำตัวเป็นแบบอย่าง
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารการพยาบาล
ระบบโครงสร้างองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร
ผู้บริหารองค์กร
บุคลากร
ความไว้วางใจในองค์กร
ลักษณะงาน
สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้ากับลูกน้อง
นางสาวนภสร สุตัน เลขที่ 40 รหัสนักศึกษา 603101040