Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม, การคบควบแมลงสาบ, นางสาวพัชชริกา ปักกะทานัง …
การพยาบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม
แนวคิดการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ
การป้องกันและการแก้ไขปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อม ต้องร่วมมือกันทุกฝ่าย
สิ่งแวดล้อมที่ไม่สมดุล เกิดเป็นมลพิษมีผลกระทบต่อสุขภาพ
อนามัยสิ่งแวดล้อม
งานอนามัยสิ่งแวดล้อม
มุ่งรักษาสิ่งแวดล้อม
ป้องกันโรคไม่ให้เข้าสู่ร่างกายมนุษย์
มุ่งเน้นการป้องกันโรค
ความสำคัญ
สร้างเสริมสุขภาพ
สร้างสุนทรียภาพและความเจริญในชุมชน
ลดอัตราป่วย และอัตราตาย
ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน
สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาและการใช้เทคโนโลยี
จากการกระทำของมนุษย์โดยตรง
การเพิ่มของประชากร
ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อม
มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางอากาศ
ขยะและของเสียอันตราย
มลพิษทางดิน
การอนามัยสิ่งแวดล้อมที่สำคัญในประเทศไทย
การสุขาภิบาลที่พักอาศัย (Housing sanitation)
การควบคุมมลพิษทางอากาศ (Air pollution)
การสุขาภิบาลอาหาร (Food hygiene)
การควบคุมสัตว์อาร์โทรปอด และสัตว์กัดแทะหรือการ
การกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
การบำบัดน้ำเสีย และการควบคุมมลพิษทางน้ำ
การจัดหาน้ำสะอาดเพื่ออุปโภคและบริโภค
ผลกระทบต่อสุขภาพ
เกิดความเดือดร้อนรำคาญและไม่สะดวกสบาย
โรคต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในพืนที่เกิดการระบาดขึ้น
ภูมิต้านทานโรคต่ำลง
เกิดผลเสียต่อสุขภาพจิต
ได้รับเชือโรคหรือสารพิษที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกรรมพันธ์
ได้รับเชือโรคหรือสิ่งที่ทำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ
การจัดการและควบคุม
ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อม
การบ้าบัดน้ำเสียและการควบคุมมลพิษทางน้้า
วิธีทางเคมี
การตกตะกอนโดยใช้สารเคมี
การท้าให้เป็นกลาง
การท้าลายเชื้อโรค
ทางชีวภาพ
ช้จุลินทรีย์ในการก้าจัดสิ่งเจือปนในน้้าเสีย
ความสกปรกเหล่านี้จะถูกใช้เป็นอาหารและเป็นแหล่งพลังงานของจุลินทรีย์
วิธีทางกายภาพ
การกรองด้วยตะแกรง
การท้าให้ลอย
การตัดย่อย
รางดักกรวดทราย
การปรับสภาพการไหล
การตกตะกอน
การกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
การเผา
การฝัง
การทิ้งหรือถม
การนำขยะไปให้สัตว์เลี้ยง
การหมักขยะมูลฝอยทำปุ๋ย
การนำกลับมาใช้ใหม่ (recycling)
การจัดหาน้ำเพื่ออุปโภคและบริโภค
การขุดบ่อน้ำ
บ่อน้ำตื้น
บ่อน้ำลึกหรือบ่อบาดาล
การปรับปรุงคุณภาพน้้า
ด้านชีวภาพ
การต้ม
ด้านกายภาพ
การใช้ตะแกรง
การกรอง
การตกตะกอน
การกลั่น
การเติมอากาศ
การผสมเร็วและการรวมตะกอน
ทางเคมี
การสร้างตะกอน
การดูดซับ
การกำจัดความกระด้างของน้้า
แหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค
2) น้ำผิวดิน
3) น้ำใต้ดิน
1) น้ำฝน
การควบคุมสัตว์กัดแทะหรือการควบคุมพาหะนำโรค
การควบคุมยุง
การควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์
2.การถมที่
1.การระบายน้ำ
3.การให้สุขศึกษาแก่ประชาชน
การควบคุมยุงตามระยะต่างๆ
ระยะไข่ : ขัดล้างตามผิวภาชนะที่น้ำขัง
ระยะลูกน้ำและตัวโม่ง : ใส่ทรายอะเบท 10 กรัมต่อน้ำ 100 ลิตร
ระยะตัวเต็มวัยหรือยุง : พ่นสารเคมี ป้องกันไม่ให้ยุงกัด
การควบคุมแมลงวัน
ภายในอาคารและที่พักอาศัย
การใช้กลวิธีทางกายภาพ
การใช้วิธีทางเคมี :ใช้ยาฆ่าแมลงวัน
กำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
ภายในชุมชน
กำจัดสิ่งปฏิกูลที่ดีถูกหลักสุขาภิบาล
กำจัดขยะมูลฝอยในชุมชนให้ถูกต้อง
บำรุงรักษาความสะอาดสถานที่ต่าง ๆ
บำบัดและกำจัดน้ำเสียในชุมชนที่ถูกต้อง
ป้องกันไม่ให้แมลงสาบเข้าสู่ตัวอาคาร
โดยซ่อมแซมรอยแตกภายในอาคาร
การควบคุมหนู
ควบคุมป้องกันหนูในที่พักอาศัย
ควบคุมป้องกันหนูในชุมชน
การสุขาภิบาลอาหาร
การจัดการและควบคุมอาหาร ภาชนะ อุปกรณ์ ผู้สัมผัสอาหาร และสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในทุกกิจกรรมตั้งแต่การเตรียม วัตถุดิบ การขนส่ง การปรุง การเก็บรักษา การถนอมอาหารและการจำหน่ายอาหารเพื่อให้อาหารสะอาด ปลอดภัยจากเชื้อโรค
การควบคุมมลพิษทางอากาศ
หมายถึงสภาวะการที่บรรยากาศกลางแจ้งมีสิ่งเจือปน เช่น ฝุ่นละออง ก๊าซต่าง ๆ ละออง ไอ กลิ่นควัน เป็นต้น อยู่ในลักษณะ ปริมาณและระยะเวลาที่นานพอที่จะทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์หรือสัตว์
สุขาภิบาลที่พักอาศัย
การจัดการและควบคุมดูแลที่อยู่อาศัยให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ โดยจัดการให้ได้ตามความต้องการขั้นพื้นฐานทั้งทางร่างกาย จิตใจ และจัดให้ปลอดภัยจากการเกิดอุบัติเหตุและการเกิดโรคระบาด
สิ่งแวดล้อม
ชีวภาพ
สิ่งมีชีวิต
สังคม
วัฒนธรรม
เคมี
เครื่องสำอางค์
กายภาพ
ต้มไม้
บทบาท 4 มิติ
การป้องกัน
การปกป้องคุ้มครอง
การควบคุม
กำกับทบทวน
การคบควบแมลงสาบ
นางสาวพัชชริกา ปักกะทานัง
เลขที่ 27 รหัส 611001402385