Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:star:บทที่ 5 เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล:star:, :<3: นางสาวชญานี …
:star:บทที่ 5 เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล:star:
การเจรจาต่อรอง (Negotiation)
:!!:
ความหมาย
กระบวนการที่ 2 คนขึ้นไปมาหารือความต้องการที่ต่างกัน>>>
หาข้อสรุปร่วมกันให้บรรลุผล + พึงพอใจทั้งสองฝ่าย
ขั้นตอนของการเจรจาต่อรอง
ขั้นตอนหลังการเจรจา
การปฏิบัติตามผลของการเจรจาที่ได้ตกลงกันไว้โดยทำสัญญา
ประเด็นสำคัญหลังจากนี้คือการรักษาคำพูด ข้อตกลง
ขั้นตอนการรื้อฟื้นเรื่องขึ้นมาเจรจากันใหม่
ขั้นตอนดำเนินการเจรจา
>>> ต้องรักษากฎระเบียบ มารยาท ใช้เทคนิคในการเจราจาอย่างฉลาด โน้มนาวใจอย่างแนบเนียน
ขั้นตอนเตรียมการเจรจา
การกำหนดยุทธศาสตร์ในการเจรจาต่อรอง
การกำหนดยุทธวิธีสำหรับการเจรจาต่อรอง
การพิจารณาเบื้องต้นเพื่อกำหนดกลยุทธ์ในการเจรจา
องค์ประกอบของการเจรจาต่อรอง
ความพยายามที่จะแก้ปัญหา
กระบวนการ การเจราจาต่อรองเป็นกระบวนการที่มีขั้นตอน
แต่ละฝ่ายต้องตระหนักว่าทั้งคู่มีความแตกต่างกัน หรือมีสิ่งที่แตกต่างกันจะเสนอ
บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปที่มีความคิดเห็น หรือความต้องการที่ต่างกัน
เทคนิคการเจรจาต่อรอง
การต่อรองแบบนุ่ม
ผู้ต่อรองยินดีเสนอและยินยอมคู่เจรจาในบางประเด็น มีความไว้ใจกัน มองคู่เจรจาเป็นมิตร
การต่อรองแบบแข็ง
ผู้เจรจายึดจุดยืนของตนเป็นหลัก โดยไม่คำนึงถึงข้อเจรจาของฝ่ายตรงข้าม
มองคู่เจรจาเป็นศัตรู
หัวใจสำคัญในการเจรจาต่อรอง
สนใจผลประโยชน์มากกว่าการแพ้ชนะ
ทางเลือก >>> เป็นแบบ win - win solution
บุคคล แยกออกจากปัญหา/อารมณ์
เกณฑ์ต้องเป็นที่ยอมรับทั้ง 2 ฝ่าย
เริ่มต้นด้วยการเปิดฉากเชิงบวก
แบบของการเจรจา
นิยมดำเนินการเจรจาโดยไม่เคร่งครัด
ยึดถือหลักการในเรื่องมารยาทสังคม้เป็นเกณฑ์
เป็นการเจรจาที่มีคู่เจรจาอยู่เพียง 2 ฝ่าย
การเจรจาที่มีหลายฝ่ายร่วมในการเจรจา
มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องของอาวุโสและศักดิ์ศรีขององค์กร
รักษาระเบียบพิธีการในการประชุมอย่างเคร่งครัด
หลักสำคัญในการเจรจา
การยอมรับ (acceptance)
ความเข้าใจ (understanding)
ความจริงใจ (sincerity)
การสื่อสาร (communication)
การตัดสินใจแก้ไขปัญหา (Decision Making)
:red_flag:
ความหมาย
เป็นกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์
เพื่อเลือกทางเลือกที่เหมาะสมและสั่งการให้บรรลุผล
ปัญหา
>>> ช่องว่างหรือความแตกต่างระหว่างสภาพการณ์กับสถานการณ์
การตัดสินใจ
>>> การเลือกเอาวิธีปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งจากวิธีปฏิบัติหลายอย่าง
ความสำคัญของการตัดสินใจ
ช่วยให้ดำเนินชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ ปราศจากความกังวล
ช่วยให้เกิดความภาคภูมิใจ เมื่อสำเร็จและเกิดประโยชน์กับคนอื่น
ช่วยลดความขัดแย้ง
ช่วยให้มั่นใจและพัฒนาศักยภาพตนเอง
ช่วยให้เกิดแนวทางปฏิบัติอย่างมีคุณภาพ
ประหยัดเวลา แรงงาน ทรัพยากร
ขั้นตอนการแก้ไขปัญหา
วางแผนการปฏิบัติ
ติดตามและประเมินผล
กำหนดปัญหาให้ถูกต้องชัดเจน
วิเคราะห์สาเหตุสำคัญ
หาวิธีแก้ที่เป็นไปได้
เลือกวิธีแก้ให้ดีที่สุด
เข้าใจสถานการณ์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมการตัดสินใจ
วัฒนธรรมและความเชื่อถือของบุคคล
ประสบการณ์และการรับรู้ในอดีต
อคติและความลำเอียง
ทฤษฎีการตัดสินใจของโบโน
หมวก 6 ใบ
หมวกสีดำ >>> การตัดสินใจด้วยแนวคิดที่เป็นลบ มองโลกในแง่ร้าย
หมวกสีเหลือง >>> การตัดสินใจด้วยการคิดในทางบวก คิดทางที่ได้ประโยชน์
หมวกสีแดง >>> การตัดสินใจด้วยความโกรธ โทสะ
หมวกสีเขียว >>> การตัดสินใจที่สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ
หมวกสีขาว >>> การตัดสินใจอย่างเป็นกลาง ปราศจากอคติ
หมวกสีฟ้า >>> การตัดสินใจในภาพรวมกว้างทั้งหมดทุกสีรวมกัน ประเมินถึงผลลัพท์
ข้อจำกัดของการตัดสินใจของผู้บริหาร
การเบี่ยงเบนที่ไม่ปรากฎออกมาให้เห็น
การตัดสินใจผิดเพราะไม่สามารถควบคุมบางอย่างได้
ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงในอนาคต
ข้อจำกัดด้านเวลา
การตัดสินใจโดยเน้นที่ความพอใจและการยอมรับของคนในองค์กร
การบริหารเวลา (Time Management)
:recycle:
ระบบการบริหารเวลา
การปฏิบัติตามตารางเวลาที่กำหนด
การปฏิบัติตามตารางการทำงานที่กำหนดไว้ในแผนและต้องรู้จัก
การปฏิเสธงานเฉพาะหน้าที่ไม่มีความจำเป็น เร่งด่วน
.
การวางแผน
ยึดหลัก 4W (The Who What Where and When)
ทรัพยากรทางการบริหารที่ต้องการ
ลำดับงานที่จะทำ
แผนสำรอง
การติดตามผล
การกำหนดความสำคัญ
B = มีความหมายสำคัญเช่นกัน ถ้ามีเวลาก็ควรทำ
C = ถ้าไม่ทำขณะนี้คงไม่เป็นไร เมื่อทำอย่างอื่นเสร็จแล้วจึงค่อยทำงาน
A = มีความสำคัญมากต้องทำก่อน
ความหมาย
การกำหนดการควบคุมการปฏิบัติงานให้บรรลุผล
เทคนิคการบริหารเวลา
สร้างมนุษยสัมพันธ์
เพิ่มเวลา
มีความรับผิดชอบ
จัดลำดับความสำคัญของงานให้ชัดเจน
ใช้โทรศัพท์ให้เป็น
ใช้ชีวิตอย่างสมดุล
พิจารณางานที่จะทำต่อไป
ลงมือทำงานที่ยากที่สุด
วางแผนงานล่วงหน้า
มอบหมายงาน
ตั้งเป้าหมายและวัตถุประสงค์
วางแผนฉลองความสำเร็จ
จดบันทึกการใช้เวลาในแต่ละวัน
ขั้นตอนการบริหารเวลา
>>>
PDCA
Plan >>> วางแผนเป็นเลิศ มีชัยไปกว่าครึ่ง
Do >>> เร่งรีบดำเนินการ มุ่งสู่เป้าหมาย
Check >>> ตรวจสอบดู เพื่อประเมินสถานการณ์
Act >>> ปรับปรุงตนเอง จัดสรรเวลาใหม่
การเสริมพลังอำนาจ (Empowerment)
:fire:
ความหมาย
การเพิ่มศักยภาพของบุคคล ให้อำนาจ อิสระในการตัดสินใจ จัดหาทรัพยากรต่างๆ เอื้อต่อการปฏิบัติงาน
รูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจ 2 ลักษณะ
เสริมสร้างด้านโครงสร้าง
>>> เน้นการปฏิบัติงานตามหน้าที่ + การมีส่วนร่วม + พัฒนา
เสริมสร้างด้านจิตใจ
>>> ให้ผู้ปฏิบัติงานเชื่อมั่นในความสามารถของตน
กลยุทธ์การเสริมสร้างพลังอำนาจ
สร้างระบบการให้ข้อมูลย้อนกลับ
จัดระบบเสริมตน
สร้างเป้าหมายงาน
จัดระบบงานที่ท้าทาย เพิ่มโอกาส ความรับผิดชอบในการทำงาน
การบริหารตนอย่างมีส่วนร่วม
ทำตัวเป็นแบบอย่าง เป็นพี่เลี้ยง สอนงานการสื่อสาร
ความสำคัญของการเสริมสร้างพลังอำนาจ
ต่อทีมงาน
>>> ต้องมีการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ประสานงานแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร มีส่วนร่วมในการตัดสินใจทุกคน มีการปรับปรุงและพัฒนาการทำงานขอทีมงานต่อเนื่อง
ต่อระดับองค์กร
>>> การร่วมมือร่วมใจกันทำงนของผู้ปฏิบัติงาน โดยมีหัวหน้าเป็นผู้เสริมสร้างพลังอำนาจหลายๆด้าน
จะทำให้ผู้ผู้ปฏิบัติงานมีกำลังใจ ปฏิบัติงานเต็มความสามารถ และทำให้เกิดความผูกพันต่อองค์กร
ต่อบุคคลในองค์กร
ระดับผู้ปฏิบัติงาน
>>> ได้รับโอกาสในการแสดงความคิดเห็นและตัดสินใจร่วมกับผู้บริหาร
ระดับผู้บริหาร
>>> ต้องเป็นผู้ได้รับและส่งเสริมพลังอำนาจให้กับผู้ปฏิบัติงาน
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารการพยาบาล
วัฒนธรรมองค์กร
ผู้บริหารองค์กร
ระบบโครงสร้างองค์กร
ลักษณะงาน
ความไว้วางใจในองค์กร
บุคลากร
สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้ากับลูกน้อง
การบริหารความขัดแย้ง (Conflict Management)
:explode:
ความหมาย
สภาพการณ์เกิดความเข้าใจกัน ไม่พึ่งพอใจกัน ข้องใจ
ประเภทของความขัดแย้ง
ตามแนวทะแยงมุม
>>> ผู้บริหาร/ผู้ปฏิบัติงาน ต่างสายบังคับบัญชา
ตามแนวตั้ง
>>> ผู้บริหาร - ผู้ปฏิบัติงาน
ตามแนวนอน
>>> ผู้บริหาร/ผู้ปฏิบัติงานในระดับเดียวกัน
สาเหตุของความขัดแย้ง
เป้าหมายการทำงาน
อำนาจ
บทบาทไม่ชัดเจน
การเปลี่ยนแปลง
ผลประโยชน์
การบริหารความขัดแย้ง
การประนีประนอม >>> ต่างฝ่ายต่างได้เพียงบางส่วนที่ต้องการเท่านั้น
การประสานประโยชน์ >>> เน้นความพอใจของทั้งสองฝ่าย ไม่มีแพ้ชนะ
การชนะ - แพ้ >>> ฝ่ายหนึ่งชนะโดยใช้อำนาจในการแก้ปัญหา
ผลจากความขัดแย้ง
ผลทางบวก
การควบคุมการปฏิบัติงานจะดีขึ้น
เกิดความคิดริเริ่มใหม่ๆ ในการทำงาน
เกิดการพัฒนาวิธีการทำงานใหม่ๆ
ความรอบคอบ ความมีเหตุมีผลในการแก้ปัญหา
ผลทางลบ
ไม่ยอมรับซึ่งกันและกัน
ขาดความคิดริเริ่มใหม่ๆ
ไม่ได้รับความร่วมมือ
คุณภาพการตัดสินใจต่ำ
การสื่อสารถูกบิดเบือนไม่ทั่วถึง
อาจทำให้ผู้บริหารใช้อำนาจเป็นเผด็จการมากขึ้น
ความขัดแย้งในการพยาบาล
อำนาจหน้าที่ของแพทย์
ความเครียด
ความเชื่อ ค่านิยมและเป้าหมาย
สาเหตุอื่นๆ เช่น การเปลี่ยนแปลง
การมีพฤติกรรมที่ต่อต้านหรือฝ่าฝืน
:<3:
นางสาวชญานี ศรีวงศ์ เลขที่ 14 (603101014)
:explode: