Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปรียบเทียบรายงานกรณีการศึกษาผู้ป่วยเฉพาะราย(Case study)โรค Infected…
การเปรียบเทียบรายงานกรณีการศึกษาผู้ป่วยเฉพาะราย(Case study)โรค Infected COPD
กรณีศึกษา
ประวัติผู้ป่วย
การวินิจฉัยโรค Infected COPD
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 70 ปี รับไว้ในโรงพยาบาล 11/02/63
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
ล้างไตที่เองที่บ้าน น้ำล้างไตมีสีขุ่น ตอนกลางคืนของวันที่10 กุมภาพันธ์ 2563 มีอาการไข้และปวดท้องก่อนนำส่งโรงพยาบาลวันที่11กุมภาพันธ์ 2563
สาเหตุ
เกิดจากปอดและระบบทางเดินหายใจได้รับความเสียหายจนเกิดการอักเสบ
อาการและอาการเเสดง
1.มีเสมหะสีเหลืองเหนียวข้น
2.หายใจเหนื่อบหอบ
3.หายถี่ อ่อนเพลีย ผิวหนังแห้ง
การวินิจฉัยและการรักษาที่ได้รับ
การวินิจฉัย
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย วินิจฉัยโรคผู้ป่วย
การรักษา
On O2 Cannula
ให้ยาSulperazone
ให้ยาColitin
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
Impaired gas exchange r/t inability to transport Oxygen
การพยาบาล
-ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจนได้แก่ อาการเหนื่อย อ่อนแรง มึนงง หายใจถี่
-วัดสัญญาณชีพและO2 sat ทุก4 ชั่วโมง
-ดูแลการจัดท่าPosition ศีรษะสูง
-ดูแล On O2 cannula 3LPM
-ดูแลสะภาพแวดล้อมให้อากาศถ่ายเทสะดวก
น้ำตาลสูงเนื่องจากระดับน้ำตาลไม่คงที่
การพยาบาล
-ประเมินภาวะHyperglycemia เช่น ไม่มีการเหงื่อออก ตัวเย็น ผิวหนังแห้ง ตาลึกโบ๋ คลื่นไส้อาเจียน ซึมลง
-วัดvital signs และ O2 sat ทุก 4 ชั่วโมง
-สังเกตและบันทึกอาการเกี่ยวกับระดับความรู้สึกตัวและภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ได้แก่ ปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำ น้ำหนักลดลง อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน หอบ
-ดูแลให้ได้รับยาลดระดับน้ำตาลตามแผนการรักษาของแพทย์
-ติดตามผลระดับน้ำตาลในเลือด
Ineffective airway clearance r/t excessive sputum
การพยาบาล
-ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน เช่น ผิวหนังซีดหรือเป็นสีเขียว ไอ มีเหงื่อออกมาก หายใจมีเสียงหวี๊ด หายใจถี่ หายใจลำบาก หัวใจเต้นเร็ว อ่อนเพลีย
-วัดvital signs และO2 sat ทุก 4 ชั่วโมง
-จัดท่านอนศีรษะสูง 45-60 องศา
-การให้ผู้ป่วยฝึกไอ
-การทำกายภาพบำบัดทางเดินหายใจ
-การดูดเสมหะ Suction airway
-เปลี่ยนท่านอนทุก2ชั่วโมง
โรค Infected COPD
พยาธิสภาพ
หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
หลอดลมได้รับสารระคายเคืองต่อเยื่อบุในหลอดลมก่อให้เกิดการอักเสบเรื้อรังทำให้สร้างสิ่งคัดหลั่งเพื่อตอบสนองการอักเสบทำให้เยื่อเมือกบวมเสมหะเหนียวข้นและขับออกได้ยากช่องทางเดินอากาศตีบลงเกิดการระบายอากาศลดลงจึงก่อให้เกิดอาการไอเรื้อรังและหายใจลำบาก
ถุงลมโป่งพอง
ถุงลมโป่งพองเกิดจากผนังของถุงลมถูกทำลายจึงทำให้ถุงลมที่อยู่ติดกันกลายเป็นถุงลมขยาดใหญ่เมื่อได้รับสารระคายเคืองจะไปกระตุ้นทำให้หลอดลมอักเสบ
สาเหตุ
การสูบบุหรี่
มลพิษทางอากาศ
หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
ผู้ป่วยมีอาการไอ มีเสมหะ
โรคหลอดลมโป่งพอง
มีการทำลายของถุงลมปอดดำทำให้ถุงลมบริเวณที่อยู่ปลายต่อของหลอดลมฝอยส่วนปลายพองโตกว่าปกติ การแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในหลอดเลือดฝอยในปอดลดลงเกิดการคลั่งของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำลง
อาการและอาการเเสดง
โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง
มีอาการเป็นๆหายๆต่อเนื่องกัน 3 เดือน ใน 1 ปี ติดต่อกันอย่างน้อย 2 ปี หายใจมีเสียงหวี๊ด หอบเหนื่อยเมื่อออกแรงร่วมกับการมีการติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อยๆ
โรคถุงลมโป่งพอง
มีอาการไอมีเสมหะมากในตอนเช้า อาการเหนื่อยค่อยๆรุนเเรงมากขึ้นแม้ทำกิจวัตรประจำวัน ทรวงออกมีรูปร่างเหมือนถังเบียร์หรือโอ่ง หายใจออกแบบห่อปาก นิ้วปุ้ม
การวินิจฉัยและการรักษาที่ได้รับ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ,
ตรวจร่างกาย,ผลตรวจห้องปฏิบัติการ
การตรวจร่างกาย
ลักษณะการหายใจออกยาวตื้น มีเสียงวี๊ดขณะหายใจ การหายใจเบาลง ใช้กล้ามเนื้อส่วนอื่นช่วยในการหายใจ
การรักษา
การบำบัดด้วยออกซิเจนโดยการ On O2 Cannula 3 LPM
ให้ยาขยายหลอดลม(Bronchodilator)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องพื้นที่การเเลกเปลี่ยนก๊าซลดลงจากภาวะปอดอักเสบ
ความทนในการปฏิบัติกิจกรรมลดลงเนื่องจากหายใจเหนื่อยง่ายเเละอ่อนเพลีย
นางสาวธมลวรรณ เสียงสาว รหัส61122230123 เลขที่114