Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด และการสื่อสารเพื่อการบําบัด,…
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด และการสื่อสารเพื่อการบําบัด
สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้ป่วย
ความหมาย
บุคคลสองคนคือ พยาบาลและผู้ปุวยได้มีการติดต่อเกี่ยวข้องกันชั่วระยะเวลาหนึ่ง
พยาบาลมีบทบาทในการที่จะช่วยให้ผู้ป่วย
ได้รับการตอบสนองความต้องการ
ช่วยแก้ปัญหา
ช่วยให้ฟื้นจากความเจ็บป่วยทางจิต
เป้าหมาย
เพื่อให้ผู้ป่วย
รู้จักตนเองดีขึ้น และปรับปรุงตัวเองด้านความคิดและการแสดงออก
มีความสามารถที่จะสร้างความสนิทสนมคุ้นเคยกับผู้อื่น พึ่งพาผู้อื่นพอควร มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น โดยสามารถเป็นผู้ให้และผู้รับ
ตระหนักในตนเอง ยอมรับตนเอง และเพิ่มความนับถือตนเองให้มากขึ้น
ปรับปรุงการกระทําหน้าที่ในการดํารงชีวิต และเพิ่มความสามารถที่จะทําตามความต้องการและความจําเป็นต่าง ๆ ให้ได้รับความพึงพอใจและบรรลุเป้าหมายที่เป็นจริง
ให้โอกาสผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกไม่สบายใจ ทําให้ผู้ป่วยเข้าใจปัญหาของตนเอง และเกิดการเรียนรู้ในการปฏิบัติตนที่เหมาะสมได้
ความแตกต่างระหว่างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัดกับสัมพันธภาพเพื่อสังคม
การวางแผน
บำบัด
พยาบาลต้องวางแผนก่อนไปพบ
สังคม
มีการวางแผนหรือไม่มีก็ได้
เนื้อหาในการสนทนา
บำบัด
เน้นเรื่องของความคิด อารมณ์ และพฤติกรรมของผู้ป่วย
สังคม
ตามความพอใจของทั้ง 2 ฝ่าย
ระยะเวลาในการสร้างสัมพันธภาพ
บำบัด
มีการเริ่มต้นสัมพันธภาพและมีการสิ้นสุดสัมพันธภาพเมื่อผู้ปุวยจําหน่ายกลับบ้านหรือขึ้นอยู่กับความสําเร็จของเปูาหมายที่ได้วางไว้
สังคม
มีการเริ่มต้น จะมีการสิ้นสุดสัมพันธภาพหรือไม่มีก็แล้วแต่ความพอใจของทั้ง 2 ฝ่าย
เป้าหมายในการสร้างสัมพันธภาพ
บำบัด
เพื่อให้ผู้ป่วย
สร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้ รู้จักพึ่งตนเอง ในขณะเดียวกันก็สามารถพึ่งพาคนอื่นได้
ให้ความรักและรับความรักจากผู้อื่น
เข้าใจปัญหาและยอมรับปัญหาของตนเอง ตลอดจนสามารถแก้ไขปัญหาของตนเองได้
เรียนรู้ในการปฏิบัติตนที่เหมาะสม
ระบายความรู้สึกไม่สบายใจ
สังคม
เพื่อให้เกิดความพอใจซึ่งกันและกัน
ระยะการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
ระยะเริ่มสนทนา
เตรียมสถานที่และบรรยากาศน่าไว้ใจ
เมื่อพบหน้า
ทักทายด้วยท่าทีเป็นมิตร
พูดคุยเรื่องทั่วไปก่อน
แนะนำตัว
บอกวัตถุประสงค์
บอกบทบาทหน่าที่
กำหนดข้อตกลงในการสร้างสัมพันธภาพ
สร้างความไว้วางใจ
การค้นหาหรือระบุปัญหาที่แท้จริง
ปัญหาที่พบในระยะนี้
ความวิตกกังวล
ผู้ป่วย
พยาบาล
การต่อต้าน
ผู้ป่วยไม่รับรู้ ไม่มีสัมพันธภาพกับพยาาบาล
การทดสอบ
ผู้ป่วยทดสอบขอบเขตของสัมพันธภาพ
ระยะแก้ไขปัญหา
รักษาสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ค้นหาสาเหตุปัญหา
ประเมินการเจ็บป่วยว่ากระทบต่อชีวิตอย่างไร
ร่วมกับผู้ป่วยในการวิเคราะห์หาสาเหตุ และกลไกของปัญหาต่างๆ
สนับสนุนด้านจิตใจ
ให้เวลา
ให้กำลังใจ
ให้ข้อมูล
ปัญหาที่พบในระยะนี้
มีความรู้สึกร่วมกับผู้ป่วย
การถ่ายโยงความรู้สึกของผู้ป่วยไปสู่พยาบาล
ความวิตกกังวลของพยาบาล
การถ่ายโยงความรู้สึกของพยาบาลไปสู่ผู้ป่วย
ระยะก่อนการสนทนา
วางแผนการสนทนาในแต่ละครั้งเกี่ยวกับวัตถุประสงค์การสนทนา สถานที่ เวลา และให้ข้อมูลต่าง ๆ กับทีมผู้รักษาได้ร่วมรับรู้
ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของผู้ป่วยเกี่ยวกับแผนการรักษาที่ผ่านมา ปัญหาที่เคยเกิดขึ้น และภูมิหลังบางประการ
เตรียมตัวให้ชัดเจนในเป้าหมายการสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย
พยาบาลควรตรวจสอบสภาพด้านร่างกายและจิตใจของตนเองให้มีความพร้อมในด้านแนวความคิด และความรู้สึกในการเข้าไปสร้างสัมพันธภาพกับผู้ปุวย
ระยะยุติสัมพันธภาพ
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยสรุปสิ่งที่เกิดขึ้นในกระบวนการสร้างสัมพันธภาพ
พยาบาลสรุปในส่วนที่ได้ร่วมแก้ไขปัญหากับผู้ป่วย
ยุติสัมพันธภาพในรูปแบบวิชาชีพ
ประเมินปฏิกิริยาของผู้ป่วยในระยะยุติสัมพันธภาพ และบอกความรู้สึก
การเตรียมผู้ป่วย
ผู้ป่วยยังอยู่โรงพยาบาล แต่ต้องยุติสัมพันธภาพ
บอกให้ทราบระยะเวลาที่จะยุติสัมพันธภาพ
บอกให้ทราบอาการที่ดีขึ้น อาการที่ต้องแก้ไข
บอกถึงประโยชน์ที่นักศึกษาได้รับ
ประเมินความรู้สึกของผู้ป่วยต่อการยุติสัมพันธภาพ
บอกแหล่งที่ผู้ป่วยขอความช่วยเหลือได้
ผู้ป่วยกลับบ้าน
บอกถึงอาการที่ดีขึ้น และอาการที่ต้องแก้ไข
แนะนำข้อปฏิบัติในการดูแลสุขภาพ
ปฏิกิริยาต่อการยุติสัมพันธภาพ
พยาบาลรู้สึกเศร้า
ผู้ป่วย
โกรธและไม่เป็นมิตร
มีพฤติกรรมถดถอย
ไม่ยอมรับในตัวพยาบาล
มึความรู้สึกเศร้า
ไม่ยอมรับการยุติสัมพันธถาพ
การสื่อสารเพื่อการบําบัด
องค์ประกอบที่มีผล
ท่านั่ง และท่าทาง
ท่าที่ผ่อนคลาย
มองเห็นคู่สนทนาอย่างชัดเจน
ควรระวัง การนั่งเผชิญหน้ากัน ให้นั่งทำมุมกัน
สถานที่
คนไม่พลุกพล่าน มีความเป็นส่วนตัว
บรรยากาศสบายปลอดโปล่ง
ควรคํานึงสภาวะอาการของผู้ป่วยร่วมด้วย
ระยะห่างระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วย
ระยะห่างให้เหมาะสมบางครั้งขึ้นอยู่กับสถานการณ์
ส่วนระยะห่างสําหรับการปรึกษา หรือในสังคมที่เหมาะสมอาจมีระยะห่างระหว่าง 4-12 ฟุต
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบําบัด
ช่วยกระตุ้นให้ผู้ปุวยพูดระบายความคิดความรู้สึก
Sharing observation
บอกสิ่งที่พยาบาลเห็น เกี่ยวกับตัวผู้ป่วย
Using silence
ผู้ป่วยพูดความรู้สึกตัวเอง พยาบาลสังเกตพฤติกรรม
Accepting/listening
การยอมรับผู้ป่วยและสิ่งที่ผู้ป่วยพูด
Giving information
ให้ข้อมูลที่เป็นจริง
Reflecting(content/feel)
สะท้อนความคิดความรู้สึกใหม่ แต่ความหมายเดิม
Presenting reality
ให้ความจริง หากผู้ป่วยรับรู้ คิด ผิดปกติ
การส่งเสริมให้ผู้ปุวยรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
Listening
การฟัง
Giving recognition
แสดงความจำหรือระลึกได้
Offering self
เสนอตนเองเพื่อรับฟังปัญหา ช่วยเหลือ อยู่เป็นเพื่อน
positive reinforcement
การให้แรงเสริมทางบวก
การกระตุ้นและส่งเสริมการสนทนา
Restating
ทวนเนื้อหาหรือใจความสำคัญ
Questioning
การตั้งคำถามทั่วไป
Using general lead
แสดงออกว่ากำลังฟัง สนใจและอยากให้พูดต่อ
Using broad opening Statement
ใช้คำพูดกว้างๆ คำถามง่ายๆ ให้ผู้ป่วยเลือกหัวข้อการสนทนา
ช่วยพยาบาลกับผู้ปุวยเข้าใจให้ตรงกัน
Clarifying
ขอคำอธิบายเพิ่ม เมื่อผู้ป่วยพูดคลุมเครือ
Verbalization implied thought and feeling
ผู้ป่วยตระหนักถึงความรู้สึกตนเอง
Validating
ตรวจสอบความรู้สึกของผู้ป่วย
ช่วยส่งเสริมความเข้าใจในการปรับตัวผู้ปุวย
Exploring
สอบถามเพื่อให้ได้ข้อมูล ปัญหา รายละเอียด
Focusing
มุ่งความสนใจให่อยู่ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
Encouraging evaluation
ให้ผู้ป่วยประเมินสิ่งที่เคยพบมา
Encouraging formulation of aplan of action
สนับสนุนให้ผู้ป่วยวางแผนนอนาคต
Summarizing
สรุปเนื้อหา ด้วยคำพูดสั้นๆ ให้ได้ใจความทั้งหมด
อุปสรรคในการติดต่อสื่อสาร
สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม
ข้อจํากัดทางอาการของผู้ป่วย
การดําเนินวิธีการสื่อสาร และใช้เทคนิคการสื่อสารที่ไม่เหมาะสม
ท่านั่ง ที่แสดงถึงความไม่สนใจผู้ป่วย
การใช้เทคนิคการสนทนาไม่เหมาะสม
การแสดงการเห็นด้วยกับข้อคิดเห็นหรือการกระทําผู้ป่วย
การให้คําแนะนํา
การใช้คําปลอบโยน
การแสดงความไม่เห็นด้วยกับข้อคิดเห็นหรือการกระทําผู้ป่วย
การขอคําอธิบาย
การดูถูกความรู้สึกผู้ป่วย
ระยะห่างระหว่างบุคคลมาหรือน้อยเกินไป
ปัญหาการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัดและวิธีการแก้ไข
ผู้ป่วยลุกออกไปจากการสนทนากะทันหัน
พยาบาลนั่งรอ
ถามผู้ป่วยว่าไปไหน
ผู้ป่วยไม่อยากพูด
ลองตั้งคำถามใหม่
สืบค้นความสสนใจ และปัญหาผู้ป่วย
เปลี่ยนวิธีเริ่มต้นการสนทนาใหม่
ผู้ป่วยขอให้การสนทนาจบเร็วกว่าเวลา หรือเลื่อนนัด
สำรวจความต้องการที่ขอเช่นนั้น
กำหนดเวลาที่เหมาะสมทั้งสองฝ่าย
ผู้ป่วยไม่ให้พยาบาลเข้าใกล้
ให้ฟังอย่่างสงบ
ประเมินระดับความไม่เป็นมิตร
พยาบาลเป็นฝ่ายมาช้า หรือขอเปลี่ยนเวลานัด
แจ้งผู้ป่วยโดยตรง
ขอโทษ ให้เหตุผล
นัดหมายใหม่ให้เหมาะสม
พยาบาลตอบโต้กับผู้ป่วยในขณะสนทนาด้ววยคำพูดซ้ำ
ฝึกให้ไวต่อการตอบโต้ที่ผิดพลาดและเรียนรู้
ผู้ป่วยมาตามนัดช้าประจำ
พิจารณาผู้ป่วยรู้จักเวลาหรือไม่
คุยเตือนเวลา
พูดคุยเหตุผลที่มาพบช้า
พยาบาลไปให้ตรงเวลา และรอผู้ป่วยอย่างสงบ
คำถามของพยาบาลทำให้ผู้ป่วยไม่พอใจ หรือหงุดหงิด
อย่าเปลี่ยนเรื่อง มุ่งการสนทนาที่ประเด็นดังกล่าว
ยกประเด็นขึ้นมาให้ชัดอีกครั้ง
ผู้ป่วยไม่มาตามนัด
ตามหาผุ้ป่วย
นัดหมายใหม่ อาจจัดเวลา สถานที่ใหม่
เตือนล่วงหน้าก่อนถึงวันนัด
จดวัน เวลานัดให้ผู้ป่วย
หลักปฏิบัติในการสื่อสาร
ใช้หลักการสื่อสารที่ให้ผู้ปุวยได้มีโอกาสระบายความรู้สึก
ใช้หลักการต่างๆที่ง่ายๆ ชัดเจน ตรงไปมา
สื่อสารที่เน้นเรื่องราวที่เป็นปัจจุบัน
ให้สําคัญกับความสอดคล้องระหว่างเนื้อหา คําพูด ท่าทาง สีหน้า และน้ําเสียงของพยาบาล
ไม่พูดถึงอดีตที่ปวดร้าวเกินไป ขณะที่ผู้ปุวยยังไม่พร้อม
ไม่เสนอข้อมูลมากเกินไปจนทําให้ผู้ปุวยสับสน เบื่อหน่าย
ฟังทั้งเนื้อหาและเจตนาว่าผู้ปุวยพูดถึงอะไรหมายความว่าอย่างไร
นางสาวพัชราภรณ์ ถิ่นชุมทอง เลขที่ 4
นางสาวภัทราภรณ์ ครโสภา เลขที่ 14
รุ่น 36/2