Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มอดูลที่ 3 การเลือกใช้วัสดุสำหรับจิ๊กฟิกซ์เจอร์, นางสาวปิยาพร สุขรี่ รหัส…
มอดูลที่ 3 การเลือกใช้วัสดุสำหรับจิ๊กฟิกซ์เจอร์
หลักการเลือกใช้วัสดุสำหรับสร้างจิ๊กฟิกซ์เจอร์
ความทนทานในการนำไปใช้งาน และความประหยัดจะถูกนำมา
พิจารณาก่อนที่วัสดุจะถูกเลือกมาใช้งาน
สมบัติต่าง ๆ ของวัสดุที่ใช้ทำจิ๊กและฟิกซ์เจอร์
ความแข็ง
คือความสามารถของวัสดุที่ต่อต้านการแทงทะลุผ่านหรือต่อต้านการทำให้เป็นรอย
ความเหนียว
เป็นความสามารถของวัสดุที่รองรับน้ำหนักหรือแรงกระแทกซ้ำ ๆ
ความต้านทานความสึกหรอ
เป็นความสามารถของวัสดุที่จะต่อต้านการขัดถูของวัสดุหรือโลหะอื่น ๆ
ความสามารถในการตกแต่ง
อัตราในการตัด
(Cutting Speed)
อายุการใช้งาน (Tool Life)
ความเรียบของผิวหน้า (Surface Finish)
ความแข็งแรงต่อแรงเฉือน
ซึ่งโดยทั่วไปความแข็งแรงต่อแรงเฉือนนี้จะมีค่าประมาณ 60% ของความแข็งแรงต่อแรงดึง
วัสดุใช้ทำจิ๊กและฟิกซ์เจอร์ที่เป็นเหล็ก
เหล็กหล่อ
จะถูกนำทำเป็นลำตัวของจิ๊กและฟิกซ์เจอร์ (Tool Body) และส่วนประกอบบางส่วน
เหล็กเหนียวผสมคาร์บอน
เหล็กเหนียวผสมคาร์บอนต่ำ จะมีปริมาณคาร์บอนใน
เหล็กอยู่ระหว่าง 0.05-0.03%
เหล็กเหนียวผสมคาร์บอนกลาง มีปริมาณคาร์บอนที่ 0.3-0.5 %
เหล็กเหนียวผสมคาร์บอนสูง มีปริมาณคาร์บอนที่ 0.5-2.0%
เหล็กเหนียวผสมธาตุพิเศษ
ปกติแล้วเหล็กชนิดนี้ไม่ค่อยนำมาทำจิ๊กและฟิกซ์เจอร์เพราะเหตุว่าราคาของเหล็กชนิดนี้มีราคาสูงมาก
เหล็กทำเครื่องมือ
เหล็กทำเครื่องมือเป็นเหล็กเหนียวที่ถูกทำขึ้นมาแบบพิเศษให้ถูกต้องตามมาตรฐาน
วัสดุใช้ทำจิ๊กและฟิกซ์เจอร์ที่ไม่ใช่เหล็ก
อะลูมิเนียม
เป็นวัสดุที่ไม่ใช้เหล็กที่นิยมใช้กันอย่างกว้างขวางมากที่สุดความสามารถในการดัดแปลงได้ง่าย และน้ำหนักเบา
แมกนีเซียม
เป็นโลหะที่ไม่ใช่เหล็กอีกอย่างหนึ่งที่ได้รับความนิยมนำมาทำจิ๊กและฟิกซ์เจอร์นี้จะมีน้ำหนักเบาและดัดแปลงได้ง่าย และมีอัตราส่วนระหว่างความแข็งแรงและน้ำหนักสูง
โลหะผสมบิสมัท
เป็นโลหะชนิดแรกที่ถูกใช้ในการทำจิ๊กเละฟิกซ์เจอร์ที่อยู่ในรูปแบบของธาตุที่มีจุดหลอมเหลวต่ำ
ไม้
ไม้จะถูกนำมาใช้สำหรับจิ๊กและฟิกซ์เจอร์ที่มีการผลิตที่จำกัดซึ่งไม่ต้องการความเที่ยงตรงนัก
ยางยูเรเทน
ความสามารถในการควบคุมการยุบตัวของมันเองดังตัวอย่าง ตัวยึดจับ
ชิ้นงานต้องการที่จะยึดจับชิ้นงานโดยที่ไม่ทำให้ผิวหน้างานเกิดความเสียหาย
อีป็อคซีและพลาสติกเรซิน
เพื่อทำเป็นตัวยึดจับชิ้งานแบบพิเศษ ปากกาจับงานแบบรังและหัวจับที่ทำด้วยอีป็อกซีหรือพลาสติกเรซินจะมีความเหนียว ดัดแปลงง่ายและราคาถูก
นางสาวปิยาพร สุขรี่ รหัส 61322110239-2 TIE2N